คุณยังไม่มีสินค้าในรถเข็น

ASP.NET 2005 Training ชุดที่ 2

ASP.NET 2005 Training ชุดที่ 2

รหัสสินค้า: I-PRO-35
ISBN: 9789749764046
สื่อการสอน ASP.NET เวอร์ชั่น 2005 ที่มีเนื้อหามากที่สุดในประเทศไทย ชุดที่ 2 ยังคงเจาะลึกทุกเนื้อหาอย่างละเอียด สอนโดย อ.ธงชัย พยุงภร เช่นเดิม

สถานะของสินค้า : สินค้าพร้อมส่ง

ราคาปกติ: 240 บาท

ราคาพิเศษ 228 บาท

ISBN 9789749764046
รายละเอียดสินค้า

ASP.NET 2005 Training จะมีรวมทั้งสิ้น คือ หนังสือ 2 เล่ม + CD-Rom 6 แผ่น โดยจะแบ่งขายเป็น 2 ชุดคือ

ASP.NET 2005 Training ชุดที่ 1

ASP.NET 2005 Training ชุดที่ 2 (ชุดที่คุณกำลังเปิดชมอยู่นี้)

เนื้อหาภายใน

ซีดีแผ่นที่ 1

  • 1 สร้าง Project ใหม่ และ Folder ต่าง ๆ เพื่อทำการศึกษาต่อ
    • เตรียม Project ใหม่และ Folder ต่าง ๆ เพื่อทำการศึกษาต่อ
    • เปลี่ยน Path ของ Database - ตรวจสอบ Class ที่ติดต่อกับ Database
  • 2 การเพิ่ม Columns เข้าใน GridView และการจัดการ Columns ใน GridView โดยใช้
    • การทดสอบทุกครั้งให้ปิด IE ก่อนเพราะมีการเก็บลง Session
    • สร้าง Tag Columns ให้กับ GridView เพื่อสร้าง Columns ต่าง ๆ เอง
    • กำหนด AutoGenerateColumns ให้เป็น False
    • การสร้าง BoundFiled และกำหนดที่ Property DataField, SortExpression, HeaderText
    • การกำหนดชิดซ้ายชิดขวาให้กับ Columns โดยกำหนดที่ Property HeaderStyle-HorizontalAlign และ ItemStyle-HorizontalAlign
  • 3 การกำหนดรูปแบบการแสดงผลที่ DataFormatString ให้กับ BoundField ใน GridView และ HtmlEncode
    • การทำให้ Field ราคาขายแสดงผลทศนิยมตามที่ต้องการ
    • การกำหนดรูปแบบที่ DataFormatString เพื่อแสดงผลราคาขายให้มีทศนิยม 2 ตำแหน่ง
    • จัดรูปแบบ Field ในช่องราคาขาย
    • การกำหนด Property HtmlEncode เป็น false เพื่อให้ BoundFields สามารถแสดง Format ที่ต้องการได้ใน Visual Studio 2005
  • 4 การสร้าง Calculated Fields เพื่อทำเป็น Field ที่มีการคำนวณอัตโนมัติ
    • แสดง Field จำนวนสินค้า
    • เพิ่ม field ให้กับ DataTable ในลักษณะที่เป็น Calculated Columns
    • ข้อดีของ Calculated Fields เมื่อเทียบกับการเขียน SQL Statement แบบใช้ select as fieldname
    • การกำหนดรูปแบบโดยกำหนดที่ Property DataFormatString ได้แก่ {0:c2}, {0:n2} และ {0:#,##0.00}
  • 5 การทำให้ GridView สามารถแก้ไขข้อมูลได้ และการเขียนโปรแกรมที่ RowEditing
    • AutoGenerateEditButton กำหนดให้เป็น True
    • เขียนโปรแกรมที่ Event RowEditing
    • การอ้างแถวในการ Edit เมื่อมีการแบ่งข้อมูลเป็น Page
    • ให้ศึกษาเปรียบเทียบกับ DataGrid ที่ได้ศึกษาไปแล้วใน CD ASP.NET ชุดแรก
  • 6 การสร้าง CommandField และ CheckBoxField ใน GridView
    • การเพิ่มปุ่มเข้าไปใน GridView โดยใช้
    • การเพิ่ม Checkbox เข้าไปใน GridView โดยใช้
    • การกำหนดให้ Checkbox อยู่ตรงกลาง Column
  • 7 การใช้ AutoGenerateSelectButton และการทำให้บาง Column ไม่สามารถแก้ไขได้
    • การทำให้ GridView สามารถเลือกแถวที่ต้องการโดยใช้ AutiGenerateSelectButton
    • การกำหนด Property ReadOnly เป็น True เพื่อล็อคไม่ให้ Column นั้นสามารถแก้ไขได้
  • 8 การสร้าง Column ชื่อกลุ่มสินค้าโดย Inner Join กับ Table กลุ่มสินค้า และการสร้าง TemplateField
    • การเขียนคำสั่ง inner join ใน Sql Statement เพื่อแสดงชื่อกลุ่มสินค้า
    • การสร้าง TemplateField
  • 9 รู้จักกับ , เมื่อมีการแก้ไขต้องการให้เป็น DropdownList เพื่อให้ผู้ใช้เลือก
    • การทำ DropdownList ใน GridView เมื่อมีการแก้ไข
    • โครงสร้างของ TemplateField : ItemTemplate และ EditItemTemplate
  • 10 รู้จักกับ Event RowEditing, RowDataBound ของ GridView
    • รู้จักกับ Event RowEditing, RowDataBound ของ GridView
    • การใช้คำสั่ง RowState เพื่อตรวจสอบสถานะของ Row ใน GridView ว่าอยู่ในสถานะ Edit หรือไม่
    • หลักการอ้าง Control ใน GridView ได้แก่ TextBox ใน GridView
    • RowDatabound ทำให้สามารถอ้าง Field ต่าง ๆ ของ Records ได้
    • การปรับรูปแบบของ Textbox เมื่อมีการ Edit เช่น การกำหนดสี หรือความกว้างของ TextBox
  • 11 การ Bound ข้อมูลเข้าไปใน DropdownList ที่อยู่ใน GridView และการตรวจสอบ RowState
    • การอ้าง DropDownList โดยใช้ FindControl โดยการเขียนที่ RowDataBound
    • การเช็ค RowState โดยการใช้ And แทนการใช้ =
    • การใส่ข้อมูลเข้าไปใน DropDownList
  • 12 การปรับความกว้างของ Control โดยใช้ Unit.Pixel และการอ้างถึง TextBox ใน GridView
    • การอ้าง TextBox ใน GridView - การปรับความกว้างของ Control
    • การปรับรูปแบบของ Column ใน GridView ขณะที่อยู่ในสถานะ Edit
    • การปรับ TextBox ให้ข้อความชิดขวา และ Control ชิดขวา
  • 13 การใส่ภาพใน GridView และการตรวจสอบเงื่อนไขในการแสดงภาพ
    • การแสดงภาพใน Column ของ GridView
    • ข้อแตกต่างระหว่าง TemplateField กับ BoundField
    • การสร้าง Function เพื่อตรวจสอบภาพและแสดงภาพ
  • 14 การตรวจสอบว่า File มีอยู่จริงหรือไม่โดยใช้ IO.File.Exists และแสดงภาพตามกลุ่มสินค้า
    • การตรวจสอบไฟล์ภาพว่ามีอยู่หรือไม่ก่อนแสดงภาพ
    • ความหมายของ Server.MapPath
    • การใช้คำสั่ง Replace เพื่อแทนที่ข้อความที่ต้องการ
    • เปรียบเทียบการเขียนระหว่างการ FindControl และการใช้ Function ที่สร้างขึ้น
  • 15 การลบแถวใน GridView และ AutoGenerateDeleteButton และการทำให้มี alert เตือนว่าต้องการลบหรือไม่
    • การทำให้เมื่อกด Delete ใน GridView แล้วมี Msgbox ขึ้นมา Confirm ว่าต้องการลบหรือไม่
    • การเขียนที่ RowCreated Event โดยตรวจสอบว่าเป็น DataRow
    • การอ้าง Control ของปุ่ม Delete
    • การอ้าง Controls ต่าง ๆ ใน AutoGenerateButtons ต่าง ๆ
    • การเขียนให้ confirm ที่ OnClientClick และการใช้ Attributes.Add
  • 16 การทำให้ DropdownList ใน GridView ให้ Highlight ที่ข้อมูลในรายการที่เราต้องการ และปรับ Columns ต่าง ๆ ให้ได้ตามที่ต้องการ
    • ปรับรูปแบบ Columns ต่าง ๆ ให้ได้ตามที่ต้องการ
    • การทำให้ DropDownList เลือกไปยังแถวที่ต้องการเมื่อมีการ Edit
    • การเขียน SelectedValue จำเป็นต้องเขียนหลังจาก DataBind
  • 17 เทคนิคการรันเลขลำดับแถวใน GridView และการใช้ Enum เพื่ออ้างถึง Column ต่าง ๆ
    • การทำ Run เลขแถวใน GridView
    • เทคนิคการอ้าง Columns โดยใช้ Enum เพื่อให้ง่ายต่อการอ้างถึงและแก้ไข
    • เปลี่ยนค่าต่าง ๆ ในการอ้าง cells จากหมายเลขให้เป็น Enumeration ทั้งหมด
  • 18 การใช้ TemplateField แทน CheckboxField เพื่อให้ Checkbox สามารถคลิกได้เพื่อเลือกข้อมูล
    • การทำ CheckBox เพื่อให้เลือก Records ที่ต้องการลบ
    • ข้อแตกต่างระหว่าง CheckBox Field กับ CheckBox ใน TemplateField
    • รูปแบบการเขียน Enumeration อีกแบบ โดยให้ใส่หมายเลขเฉพาะตัวแรก
  • 19 การใส่ control ในส่วนของ Header ของ TemplateField ของ GridView
    • การใส่ Checkbox ในส่วนของ Header ของ GridView โดยใส่ในส่วนของ HeaderTemplate
  • 20 การทำ CheckBox แบบเลือกทั้งหมดให้เหมือนใน Hotmail และการโยง Event ให้กับ Control ย่อยใน GridView และการอ้าง GridViewRow
    • การทำ CheckBox แบบเลือกทั้งหมดให้เหมือนใน Hotmail
    • การกำหนด Property AutoPostBack ของ CheckBox ให้เป็น True
    • การเขียนที่ OnCheckChanged ของ CheckBox
    • การสร้าง Event เพื่อใช้กับ OnCheckChanged และต้องกำหนดให้เป็น Public
    • การอ้างแต่ละแถวใน Grid โดยใช้ GridViewRow
    • การอ้าง CheckBox ในแต่ละแถวของ Grid
  • 21 เทคนิคการรันเลขลำดับแถวใน GridView โดยการเขียนที่ RowCreated และข้อแตกต่างระหว่าง RowIndex และ DataItemIndex
    • การ Run เลขแถวใน GridView
    • ให้เขียนที่ RowCreated และตรวจสอบว่าเป็นแถวของข้อมูล
    • สร้าง TemplateField เพื่อให้ Run เลขแถว
    • ข้อแตกต่างระหว่าง RowIndex และ DataItemIndex
  • 22 การใช้ DataKeyName ของ GridView และการดึงค่า Fields ที่ซ่อนไว้ในแต่ละแถว
    • การใช้ DataKeyNames เพื่อซ่อนค่า Field ใน GridView ซึ่งสามารถซ่อนได้หลาย Fields
    • เขียนที่ SelectedIndexChanging เพื่อให้ซ้อน GridView ใน Column ของ GridView ที่ต้องการ
    • การอ้างค่า DataKeys ที่ได้ซ่อนไว้ใน DataKeyNames - แถวที่เลือกได้ค่าจาก e.NewSelectedIndex
  • 23 ดึงข้อมูล Order Details จากสินค้าที่เลือกเพื่อมาแสดงใน GridView อีกตัวหนึ่ง
    • ดึงข้อมูล Order Details มาแสดงเมื่อเลือกสินค้าที่ต้องการ
    • ตัวอย่าง doctordiag.com ที่เขียนโปรแกรมแบบไม่ Refresh Page
  • 24 การเขียนโปรแกรมให้แสดง GridView ใน Column ของ GridView อีกตัวหนึ่ง
    • การเขียนโปรแกรมให้แสดง GridView ใน Column ของ GridView อีกตัวหนึ่ง (ต่อ)
    • การ Add Control GridView เพื่อให้สามารถแทรกใน Column ของ GridView ตัวหลัก
    • เทคนิคการเขียนโปรแกรม GridView ให้ซ้อนอยู่ใน GridView ตัวหลัก
  • 25 การแทรก Control เพิ่มเติมเช่น Literal นอกจาก GridView แล้ว และรู้จักกับ TableCell
    • การเพิ่ม Control ขณะ runtime ให้มีมากกว่า 1 ตัว ได้แก่ Literal และ GridView
    • การอ้างถึง TableCell เพื่อให้สะดวกในการจัดการ Cell ที่ต้องการ
  • 26 การทำให้ GridView แสดง Footer และการ Merge Cells ใน FooterRow
    • การอ้างแถวใน FooterRow
    • การ Merge Cells ใน Footer โดยใช้คำสั่ง RemoveAt และ ColumnSpan
    • การส่งค่าข้าม Page โดยใช้ Request.querystring
    • การให้คลิกที่ Hyperlink แล้วเปิด window ใหม่ขึ้นมา โดยใช้ target=_blank
  • 27 การนำค่าที่ส่งข้าม Form โดยใช้ Request.Querystring มาใช้งาน เพื่อดึงข้อมูล Order Details ทั้งหมดของสินค้าที่เลือกมาแสดง
    • การใช้ Request.QueryString
    • ดึงข้อมูล Order Details ของสินค้าที่เลือกมาแสดงข้าม Page
  • 28 การเพิ่ม Column ใหม่ใน DataTable ในขณะ Runtime (Calculated Column)
    • การทำ Calculated Column ใน DataTable
    • การจัดการ Column ของ GridView โดยใช้การกำหนดค่าใน Property Columns
    • การ Add Column ใน GridView ที่อยู่ใน Property Window
    • กำหนด Field จำนวนเงินให้มีทศนิยม 2 ตำแหน่ง และ HtmlEncode
  • 29 การหาผลรวมของ Column ใน GridView โดยใช้คำสั่ง Compute ของ DataTable แล้วแสดงใน FooterRow
    • การหาผลรวมโดยใช้ Compute ของ DataTable
    • การนำค่าผลรวมที่คำนวณได้มาใส่ใน Footer ของ GridView
    • การใส่ค่าใน FooterRow ให้ใส่หลังจาก DataBind ของ GridView แล้ว
  • 30 การนำ HTML Tag มาใช้จัดรูปแบบการแสดงผลของ Footer ใน GridView และการ Merge Cells ใน Footer
    • การ Merge Cells ใน FooterRow เพื่อจัดให้ได้รูปแบบที่ต้องการ
    • ปรับรูปแบบการแสดงผลใน FooterRow"

ซีดีแผ่นที่ 2

  • 1 การกำหนด Security ของ Folder ของฐานข้อมูล และการลบข้อมูลแต่ละแถวใน GridView
    • ศึกษาเกี่ยวกับ GridView ต่อ
    • สร้าง Projct ใหม่ และเตรียมงานเพื่อการศึกษาต่อ
    • การแก้ไขภายใน GridView
    • การกำหนด Security ของ Folder ที่เก็บฐานข้อมูล ใน Windows versions ต่าง ๆ
    • การลบข้อมูลทีละแถวใน GridView โดยเขียนที่ Event RowDeleting
    • การอ้างแถวข้อมูล (DataRowView) ที่ต้องการลบ โดยใช้ RowIndex และการอ้าง Key ของข้อมูลแต่ละแถว
    • ความหมายของ DataRow.AcceptChanges
  • 2 เขียนโปรแกรมลบทุกแถวที่มีการ checked ไว้ที่ CheckBox และความหมายของ StringBuilder ที่ดีกว่า String ทั่วไป
    • ตรวจสอบการลบข้อมูลทุก ๆ Page รวมถึง Page สุดท้าย
    • การเขียนโปรแกรมลบแถวทุกแถวที่มีการ Checked ไว้
    • ความหมายของ StringBuilder และข้อดีที่ดีกว่า String ทั่วไป
    • การวน loop ในแต่ละแถวของ GridView โดยใช้ Object GridViewRow
    • การอ้าง CheckBox ที่อยู่ในแต่ละแถวของ GridView และการใช้ FindControl
    • การอ้าง Key ในแต่ละแถว โดยใช้ DataKeys เฉพาะแถวที่มีการ Checked
  • 3 การอ้างแถวที่ต้องการลบใน GridView และลบหลาย ๆ records ออกจากฐานข้อมูลจริง
    • Properties และ Methods ของ StringBuilder
    • เขียนโปรแกรมให้ลบข้อมูลในฐานข้อมูลจริง โดยอ้างจาก Checkbox ที่มีการเลือกไว้
  • 4 การเพิ่มข้อมูลแถวใหม่ ใน GridView
    • การเพิ่มข้อมูลแถวใหม่ โดยใช้ DataTable.NewRow ใน GridView
    • การใส่ค่า Default ให้กับ Fields ต่าง ๆ เมื่อมีการเพิ่มแถวใหม่
    • การอ้างไปยัง Page และแถวที่ต้องการของ GridView
  • 5 การจัดการค่า Default ของ Record ใหม่ และการใช้ DataTable.Compute
    • การหาค่า Default ของ ProductID ซึ่งเป็น AutoNumber
    • การใช้ DataTable.Compute เพื่อหาค่า Max ของ ProductID
  • 6 การป้องกันการ New Record ซ้ำ ๆ กัน และการตรวจสอบ RowState ของแถว
    • การป้องกันการ New Record ที่ซ้ำ ๆ กัน
    • การตรวจสอบข้อมูลแถวใหม่ว่ามีอยู่หรือไม่ โดยใช้ DataView.RowStateFilter
  • 7 การยกเลิกการแก้ไขของแถวข้อมูลใน GridView และการตรวจสอบ RowState ของแถว
    • การยกเลิกการแก้ไขข้อมูล - การอ้าง DataRowView และ DataRow
    • RowVersion ของ DataRow
    • การตรวจสอบว่าเป็นแถวใหม่หรือไม่โดยใช้ DataRowView.IsNew และข้อผิดพลาด
    • การตรวจสอบว่าเป็นแถวใหม่หรือไม่ โดยใช้ DataRow.RowState
  • 8 การ Update แถวข้อมูลใน GridView โดยเขียนที่ RowUpdating และการเขียน Update Statement แบบมี Parameters
    • การยกเลิกการแก้ไข ให้ใช้ EditIndex มีค่าเป็น -1
    • การ Update ข้อมูลให้เขียนที่ RowUpdating
    • ถ้าสภาวะของแถวมีค่าเป็น Add จะเขียน SQL Statement เป็น insert into
    • แต่ถ้าสภาวะของแถวมีค่าเป็นการแก้ไข จะเขียน Statement แบบ UpdateSet
    • การเขียน Update Statement แบบ OledbCommand ที่มี Parameters
    • การอ้างค่า KeyField แบบอื่น
  • 9 ส่งค่า Parameters เข้าไปใน OledbCommand เพื่อ Update และการอ้าง Controls ต่าง ๆ ใน GridView
    • การ Update แบบมี Parameters
    • การสร้าง Parameters และการส่งค่า Parameters เข้าไปใน OledbCommand
    • การกำหนด DataTypes ของ Parameters
    • การอ้าง TextBox และ Controls ต่าง ๆ เพื่อส่งค่าเข้าไป Update ในฐานข้อมูล
    • การอ้าง DropDownList ที่ได้สร้างไว้ โดยใช้ FinControl
    • การอ้างค่า Cells ในแต่ละแถวให้ถูกต้อง
  • 10 การตรวจสอบ Error และการตรวจสอบค่าของ Control ก่อนการ Update และการเพิ่ม Javascript ขณะ Runtime แบบต่าง ๆ
    • การใช้ RegisterClientScrptBlock และการ Add Javascript ขณะ Runtime
    • การควบคุมการ Alert ของเราเอง
    • เทคนิคการเพิ่ม Javascript แบบอื่น โดยควบคุมเอง และใช้ตัวแปร
    • การใช้ ClientID เพื่ออ้างถึง Control ที่ต้องการทางด้าน Client
    • เทคนิคการกำหนดให้ Focus ที่ Control โดยการควบคุม Javascript เอง
  • 11 การ Validate ข้อมูลต่าง ๆ ก่อนการ Update แบบควบคุมเอง
    • การควบคุมและการ Validate ข้อมูล กับ Field ต่าง ๆ ก่อน Update แบบควบคุมเอง
  • 12 จัดการกับ OledbCommad ที่สร้างขึ้นแบบมี Parameters และการส่งค่า และตรวจสอบผลของการ Insert หรือ Update ว่าได้หรือไม่
    • จัดการกับ OledbCommad ที่สร้างขึ้นแบบมี Parameters และการส่งค่าเข้า OledbParameter
    • Update ลงฐานข้อมูลโดยใช้ ExecureNonQuery
    • ตรวจสอบว่า Update หรือ Insert ได้หรือไม่
    • หลังจาก Update ลงฐานข้อมูลได้แล้ว จำเป็นต้อง Update ข้อมูลที่อยู่ใน Session ด้วย 
  • 13 การตรวจสอบค่า AutoNumber หลังจากการ Insert โดยใช้ @@identity
    • การตรวจสอบค่า AutoNumber หลังจาก Insert ข้อมูล โดยใช้ Select @@identity
    • การปรับ Class ของ เราให้สามารถตรวจสอบหาค่า identity ได้หลังจากที่มีการ Insert
    • การตรวจสอบค่า identity ต้องอยู่ภายใต้ OledbConnection เดียวกัน
    • การสร้าง Optional Parameters ในฟังก์ชั่นของเรา
  • 14 การนำค่า Identity ที่ได้มาจัดการกับข้อมูลเมื่อมีการ Insert
    • เมื่อมีการเพิ่มข้อมูล ให้ดึงค่า AutoNumber มาอัตโนมัติ
    • จัดการ Update ค่าใน Session ของข้อมูลแถวที่เพิ่มใหม่ ด้วยค่า identity ที่หาได้
    • ปิดท้ายด้วย AcceptChanges เมื่อการ Insert และ Update สมบูรณ์
    • ความสำคัญของการ Check State ของแถวข้อมูล
  • 15 ตรวจสอบข้อมูลทั้งหมดเมื่อมีการเพิ่มข้อมูล และ Update ข้อมูล และตรวจสอบผลของ Identity
    • ตรวจสอบผลทั้งหมดเมื่อมีการเพิ่มข้อมูล
    • ตรวจสอบค่า identity หลังจากที่เพิ่มข้อมูล
    • ตรวจสอบการ Update ข้อมูลว่าถูกต้องหรือไม่
  • 16 ตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น เมื่อมีการเพิ่มข้อมูล
    • ตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น เมื่อมีการเพิ่มข้อมูล
    • แก้ไขใน Class ที่เขียนผิด เนื่องจากเมื่อมีการเพิ่มข้อมูล ข้อมูลจะเข้าไป 2 records
  • 17 สรุปผลและตรวจสอบทั้งหมด เมื่อมีการแก้ไข และ Update ข้อมูล
    • สรุปผลและตรวจสอบทั้งหมด เมื่อมีการแก้ไข และ Update ข้อมูล
  • 18 การสร้าง Menu ใน ASP.NET 2.0 และการเพิ่มรายการในเมนู
    • สร้าง Menu ใน ASP.NET 2.0 ซึ่งไม่มีใน ASP.NET 1.1
    • การเพิ่มรายการย่อยในเมนู - การใช้ NavigateURL
  • 19 Tags ต่าง ๆ ใน Menu ซึ่งประกอบด้วย MenuItem
    • Tag ย่อยของ Menu คือ MenuItem
    • การกำหนดสีสันต่าง ๆ ของเมนู
  • 20 การปรับ Menu ให้อยู่ในรูปแบบแนวนอน และการเพิ่มเมนู ในขณะ Runtime
    • การปรับเมนูให้อยู่ในแนวนอน โดยกำหนดที่ Orientation
    • การเพิ่มรายการย่อยในเมนูในขณะ Runtime
    • การเพิ่มรายการเมนูหลัก และเมนูย่อยในขณะ Runtime
  • 21 การทำเมนูหลัก โดยการดึงมาจากฐานข้อมูล
    • การเพิ่มรายการในเมนู โดยดึงมาจากฐานข้อมูล
    • ดึงข้อมูลกลุ่มสินค้ามาไว้ใน Menu
    • วน Loop ข้อมูลแต่ละแถว (DataRow) เพื่อมาสร้างเมนูแต่ละรายการ
  • 22 การใส่ภาพในเมนู และการดึงข้อมูลเพื่อมาใส่ในระดับที่ 2 ของเมนู เพื่อทำเป็นเมนูย่อย และการใช้ DataRelation ใน Dataset
    • การใส่ภาพให้กับเมนูในแต่ละรายการ
    • การใส่รายการย่อยของเมนูแต่ละตัว
    • การ Add Table เข้าไปใน DataSet จำเป็นต้องตั้งชื่อ Table ให้ไม่เหมือนกัน
    • การสร้าง DataRelation เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง Tables ซึ่งจำเป็นต้องสร้าง DataSet ก่อน
    • การอ้าง Fields ที่ทำ Relation โดยใช้ DataColumn
    • การดึงข้อมูลที่สัมพันธ์กัน โดยใช้ GetChildRows ตามที่ Relation ที่ได้สร้างไว้
    • การ Add Menu ย่อย ให้ใช้ ChildItems.Add
  • 23 การสร้าง Link ในเมนูย่อยในเมนูแต่ละตัว โดยใช้ NavigateUrl และ QueryString
    • การทำ Link ในเมนูโดยใช้ NavigageUrl และ QueryString
    • การกำหนด Target ในเมนู เพื่อเปิดหน้า Web Page ใหม่
  • 24 การใช้และการสร้าง TreeView และการ Add Nodes โดยใช้คำสั่ง
    • การสร้าง และรูปแบบของ TreeView ซึ่งไม่มีใน ASP.NET 1.1
    • โครงสร้างของ TreeView ประกอบด้วย Nodes
    • สร้างรายการย่อยต่าง ๆ ใน TreeView ซึ่งมีรูปแบบแหมือนกับ Menu
    • การ Add Nodes โดยใช้คำสั่งในระดับต่าง ๆ และการใช้ ChildNodes
  • 25 การเขียนโปรแกรมที่ SelectedNodeChanged ของ TreeView
    • เขียนโปรแกรมที่ SelectedNodeChanged เมื่อมีการเลือก Nodes ใด ๆ ใน TreeView
    • ข้อแตกต่างระหว่าง Click แล้วให้ PostBack หรือจะใช้ NavigateUrl
    • ต้องอย่าลืมใส่ If Not Page.IsPostBack ไม่เช่นนั้นใน TreeView จะ Add รายการเพิ่มเข้าไปซ้ำ เพราะมีการเก็บเข้า ViewState
  • 26 การดึงข้อมูลจาก SQL Server มาใส่เป็นรายการในแต่ละ Nodes ของ TreeView และการดึงข้อมูลหลาย Tables มาพร้อมกันเป็น DataSet
    • ดึงข้อมูลจาก SQL Server มาใส่ใน Nodes ของ TreeViewการกำหนดให้ ShowLines เพื่อให้เส้นแขนงระหว่างรอยต่อ
    • การดึงข้อมูลจาก SQL Server มาเป็น DataSet เลย ซึ่งมี 2 Tables
    • การสร้างความสัมพันธ์อีกแบบ โดยใช้ DataView และ RowFilter
  • 27 การกำหนดให้ TreeView ให้ Expand ถึงระดับที่ต้องการและ ExpandDepth
    • การกำหนด ExpandDepth ใน TreeView เพื่อกำหนดให้ TreeView สามารถขยายได้ถึงระดับไหน
    • ตรวจสอบรายการที่เลือกโดยใช้ SelectedNodeChanged - Node ที่เลือกคือ SelectedNode
  • 28 การ Upload ไปยัง Server โดยใช้ FileUpload
    • การเขียนโปรแกรมเพื่อให้สามารถ Upload เข้า Server โดยใช้ FileUpload
    • ข้อแตกต่างเมื่อเทียบกับ Visual Studio 2003
    • การตรวจสอบว่ามีไฟล์ที่ Upload มาหรือไม่ โดยใช้ HasFile
    • ตรวจสอบประเภทไฟล์ที่ Upload โดยใช้ ContentType
    • การตรวจสอบขนาดไฟล์โดยใช้ ContentLength
    • การกำหนด Security ของ Folder ที่จะให้ Upload
  • 29 บันทึกไฟล์ที่ Upload ไว้ใน Folder ที่ต้องการ
    • บันทึกไฟล์ที่ Upload ไว้ใน Folder ที่ต้องการ
    • การตัดส่วนของไฟล์ เป็นส่วนต่าง ๆ เช่น ชื่อไฟล์, นามสกุล โดยการใช้ object Path
    • ทบทวนการใช้ Server.MapPath เพื่อหา Physical Path ที่ต้องการจริง ๆ
    • การตรวจสอบไฟล์ว่ามีหรือไม่ ก่อนบันทึกลงใน Folder"

ซีดีแผ่นที่ 3

  • 1 การสร้าง Page Break เพื่อให้ขึ้นหน้าใหม่เวลา Print Web Page โดยใช้ StyleSheet
    • การใช้ StyleSheet เพื่อแบ่งหน้า ขึ้นหน้าใหม่
    • การ config Web Page เวลา Print
    • ใช้ StyleSheet : page-break-before เพื่อกำหนดให้ขึ้นหน้าใหม่ ก่อนพิมพ์บรรทัดดังกล่าว และ page-break-after
  • 2 การซ่อนไม่ให้ Print ในบางส่วนของ Web Page และการใช้ @media Print
    • การใช้ StyleSheet เพื่อกำหนดรูปแบบในการ Print ข้อมูลบน Web
    • การใช้ @media Print
    • การซ่อนบางส่วนของ Web Page ไม่ให้ Print
  • 3 การกำหนด Stylesheet ให้รูปแบบที่แสดงบน Web ต่างจากรูปแบบตอน Print
    • การกำหนด Stylesheet ให้รูปแบบที่แสดงบน Web ต่างจากรูปแบบตอน Print
    • ตัวอย่างตอนอยู่ใน Web Page แสดงสีน้ำเงิน แต่ตอน Print ให้แสดงเป็นสีแดง
  • 4 ความหมายของการกำหนด Style แบบ position:absolute และการทำ Pre-Print Form
    • การกำหนด StyleSheet ให้ตำแหน่งเป็น Absolute
    • การสร้าง Pre-Print Form และการกำหนดระยะและตำแหน่งในที่ต้องการ
    • การกำหนดตำแหน่งที่เฉพาะ จะไม่สามารถว่ากำหนดอยู่หน้าที่ต้องการได้
  • 5 การใช้ Repeater เพื่อช่วยควบคุมงาน Print ในกรณีที่ต้องการ Print หลาย ๆ หน้าไปด้วยกัน และการแบ่งหน้าขึ้นหน้าใหม่
    • การควบคุมงาน Print ให้ Print หลาย ๆ หน้าทีเดียว โดยใช้ Repeater ช่วย
    • การแบ่งหน้าใน Repeater
    • การดึงข้อมูล และการแบ่งข้อมูลในการ Print หน้าละ 10 records
    • การใช้ Math.Ceiling เพื่อปัดเศษขึ้น
    • การสร้าง Array เพื่อกำหนดจำนวนหน้าใน Print ภายใต้ Repeater
  • 6 การ Add GridView ขณะ Runtime เข้าไปใน ItemTemplate ของ Repeater เพื่อแยกข้อมูลในแต่ละหน้า และการใช้ DataTable.Clone
    • การแบ่งข้อมูลหน้าละ 10 records เพื่อเอาข้อมูลเข้า GridView
    • การใช้ DataTable.Clone และการแบ่งข้อมูลเป็นชุด ๆ
    • การคำนวณตำแหน่ง Record เริ่มต้น และ Record สุดท้ายในแต่ละหน้า
    • การสร้าง GridView เพิ่มในแต่ละส่วนของ Repeater เพื่อแยก GridView ในแต่ละหน้า
    • การใช้ ImportRow เพื่อ Copy ข้อมูลจาก DataTable ตัวหนึ่งไปยัง DataTable อีกตัวหนึ่ง
  • 7 การแบ่ง Page เพื่อขึ้นหน้าใหม่ภายใน Repeater เพื่อแบ่ง GridView ในการ Print เป็นหลาย ๆ หน้า
    • การทำ Clone ของ Table จะได้เฉพาะ Structure ของ DataTable เท่านั้น
    • การทำ Page Break เพื่อแบ่งหน้าในแต่ละหน้า ภายใน Repeater
    • นำความรู้ page-break-after ของ StyleSheet มาใช้
    • การป้องกันการขึ้นหน้าใหม่ที่หน้าสุดท้าย
  • 8 ถ้ากำหนดซ่อน และขึ้นหน้าใหม่ในจุดเดียวกันจะทำให้ไม่สามารถขึ้นหน้าใหม่ได้ และการแก้ไข
    • อธิบายโดยรวมในการแบ่งหน้าในการ Print 
    • ควบคุมบางส่วน ไม่ให้ Print จะทำให้ page-break-after ไม่ทำงานและการแก้ไข
  • 9ความหมายของ Item และ AlternatingItem ใน Repeater และข้อควรระวังในการตรวจสอบประเภทของแถว
    • Repeater มีหน้าที่ในการควบคุมการวน loop จำนวนหน้าทั้งหมด
    • ความหมายของ ItemTemplate และ AlternatingItem ใน Repeater
    • การตรวจสอบประเภทแถวใน Repeater
    • การเขียนโปรแกรมต้องตรวจสอบทั้ง Item และ AlternatingItem
  • 10 การออกรายงานอีกรูปแบบหนึ่ง โดยใช้ Repeater ร่วมกับ WebUserControl
    • การออกแบบ Report ขึ้นเองโดยใช้ WebUserControl เพื่อออกแบบในส่วน Detail
    • การนำ GridView มาไว้ใน WebUserControl และกำหนดรูปแบบขึ้นเอง
    • การนำ WebUserControl มาใช้งาน และคำสั่ง LoadControl
    •  การส่งค่า DataTable เข้าไปใน WebUserControl
    • ความหมายของการ Register WebUserControl
  • 11 การปรับรูปแบบการแสดงผลของ GridView ภายใน WebUserControl เพื่อออกรายงาน
    • การปรับรูปแบบใน GridView เพื่อแสดงผลภายใน WebUserControl เพื่อออกรายงาน
    • ทบทวนการจัดรูปแบบใน GridView
  • 12 การใส่ภาพ โดยใช้ TemplateField ใน GridView เพื่อออกรายงาน และการสร้าง Function เพื่ออ้างรูป
    • การใส่ภาพ โดยใช้ TemplateField ใน GridView เพื่อออกรายงาน
    • การสร้าง Function ในการอ้างภาพ เพื่อให้ใส่รูปเฉพาะกลุ่มที่ต้องการ
  • 13 การใช้งาน CrystalReportViewer และการสร้าง Report ใน CrystalReport
    • การสร้างรายงานโดยใช้ CrystalReport - การใช้ CrystalReportViewer
    • การเลือก Database เพื่อออกรายงานใน CrystalReport
    • การเขียนโปรแกรมเพื่อเปิดรายงานมาออก Report
    • Namespaces ที่ต้องใช้ของ CrystalReport
    • คำสั่งในการเปิด Report 14 การ Export Report จาก CrystalReportViewer ไปเป็นไฟล์ต่าง ๆ
    • การ Export จาก CrystalReportViewer ผ่าน Web
  • 15 การ Print Report จาก CrystalReportViewer ให้อยู่ในรูป Adobe Acrobat
    • Option ในการติดตั้ง CrystalReport
    • รูปแบบการ Print ออกเป็น Adobe Acrobar
  • 16 ความหมายของ Property PrintMode ใน CrystalReportViewer
    • รูปแบบที่ออกรายงาน ก็จะมีรูปแบบเป็น HTML และมี Javascript 
    • PrintMode ใน CrystalReportViewer เพื่อ Print เป็น Adobe Acrobat หรือ Print โดยใช้ ActiveX Control
  • 17 ปรับการตั้งค่าใน Internet Explorer เพื่อให้สามารถใช้คำสั่ง Print ใน CrystalReportViewer ได้
    • การปรับตั้งค่า Internet Explorer เพื่อให้สามารถใช้ CrystalReportViewer
    • ตรวจสอบ Option ต่าง ๆ ใน IE
  • 18 การใช้ RecordSelectionFormula ใน CrystalReportViewer เพื่อ Filter ให้แสดงรายงานเฉพาะ records ที่ต้องการ
    • การใช้ RecordSelectionFormula เพื่อ Filter ข้อมูลให้กับ Report
  • 19 การเขียนโปรแกรมเพื่อเปลี่ยนรูปแบบในการเรียงข้อมูลใน CrystalReportViewer
    • การเรียงข้อมูลโดยใช้ Record Sort Expert
    • การอ้าง SortFields ในการเขียนโปรแกรม
    • การอ้าง Field ที่ต้องการเรียงข้อมูล โดยใช้ FieldDefinition
    • การปรับให้เรียงข้อมูลจากมากไปน้อย หรือน้อยไปมาก โดยการเขียนคำสั่ง
  • 20 การสร้าง Formula Fields ใน CrystalReport
    • การสร้าง Formula Field ใน Report
    • ประโยชน์ของ Formula Fields
    • การอ้าง Field ใน Formula
  • 21 การกำหนด Format ของ Formula Fields และการอ้าง Formula Fields ในขณะ runtime
    • การกำหนดรูปแบบทศนิยมภายใน Formula
    • การเขียนโปรแกรมอ้าง Formula Fields ที่ได้สร้างไว้
    • การส่งค่าเข้าไปใน Formula Fields และการส่งค่า String หรือเปลี่ยนสูตรใน Formula Fields
  • 22 การใช้งาน Special Fields ใน CrystalReport
    • Special Fields ที่สำคัญต่าง ๆ ใน CrystalReport
    • การกำหนด Format ของวันที่ 23 การส่งค่า DataTable เข้าไปใน CrystalReport
    • การค้นข้อมูลใน Report - การส่งค่า DataTable เข้าไปใน CrystalReport
    • ข้อดีของการส่ง DataTable เข้าไปใน Report
    • สามารถ Sort หรือ Filter ข้อมูลจาก DataTable หรือ DataView ทำให้ไม่ต้องใช้ SortField หรือ RecordSelectionFormula
  • 24 การใช้ CrystalReport กับ SQL Server, สร้าง Report แบบ 2 Tables และการสร้าง Group Section ใน Report
    • การสร้าง Report เพื่อติดต่อกับ SQL Server
    • ขั้นตอนการเลือก Database และ Fields ต่าง ๆ เพื่อมาออก Report
    • การสร้าง Group Section ใน Report - ส่วนของ DisplayGroupTree
  • 25 การใช้ TableLogonInfo เพื่อ User/password ในการติดต่อกับ SqlServer
    • ข้อควรระวังในการ connect แบบ Integrated Security
    • การใช้ TableLogonInfo
    • การเปลี่ยนค่า TableLogonInfo ต่าง ๆ เพื่อส่งค่าเข้า Report
  • 26 การส่งค่า DataTables หลายตัวเข้าไปใน CrystalReport เมื่อติดต่อกับ SqlServer
    • การส่งค่า DataTables เข้าไปใน CrystalReport เมื่อติดต่อกับ SqlServer
    • การจัดการกับ Tables หลายตัว โดยใช้ DataSet
    • การส่ง DataTable เข้าไปใน Report ทำให้ไม่ต้องส่งค่า TableLogonInfo เข้าไปใน Report
  • 27 ความหมายของ Underlay Following Sections เพื่อดึงข้อมูลในส่วน Detail มาอยู่ในส่วนของ Group Section
    • ความหมายของ Underlay Following Sections เพื่อดึงข้อมูลในส่วน Detail มาอยู่ในส่วนของ Group Section
    • ข้อจำกัดของการใช้ CrystalReport ใน web
  • 28 การแทรกภาพใน CrystalReport และการใช้งาน SummaryFields
    • การใส่ภาพใน Crystal Report ซึ่งดึงมาจาก Field
    • การใช้งาน SummaryFields ในส่วนของ Group Footer หรือ Report Footer เพื่อสรุปผลในแต่ละกลุ่ม
  • 29 การทำ Hyperlink ใน Crystal Report เพื่อส่งค่า QueryString ไปที่ Web Form อื่น
    • การทำ Hyperlink ใน Crystal Report เพื่อส่งค่า QueryString ไปที่ Web Form อื่น
    • การใช้ function ToText เพื่อเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร และการปรับ Format ของ Object ใน Crystal Report
  • 30 การทำให้ Report Highlight แถวที่ต้องการ และการใส่สูตรในการกำหนดรูปแบบของ Formula
    • การใส่สูตรใน Format Option ของ Object ใน Crystal Report
    • การเน้นข้อมูลบางอย่าง โดยการใส่สูตร เช่น HighLight ข้อมูลที่ต้องการเน้น
    • การใช้ if ใน Formula - ค่าคงที่ของสีใน Report
    • การตัดตัวอักษรตัวแรกใน CrystalReort
  • 31 ความหมายและการใช้งาน ParameterFields ใน CrystalReport
    • ความหมายและการใช้งาน ParameterFields ใน CrystalReport
    • การสร้าง ParameterFields
    • ความหมายของ DiscreteValue และ RangeValue
    • การอ้างค่า ParameterField โดยใช้ {?PM1}
  • 32 การเขียนโปรแกรมเพื่อส่งค่า ParameterFields แบบ DiscreteValue เข้าไปใน CrystalReport
    • การเขียนโปรแกรมเพื่อส่งค่า ParameterFields แบบ DiscreteValue เข้าไปใน CrystalReport
    • การอ้าง ParameterValues และ การอ้าง DiscreteValue
    • สัญลักษณะของ Formula Fields และ ParameterFields
  • 33 การประกาศตัวแปรใน Formula Editor ของ CrystalReport และการทำค่าสะสมใน Report
    • ความหมายของการประกาศตัวแปรแบบ Shared
    • การทำฟิลด์สำหรับเก็บค่าสะสม
    • การทำฟิลด์เพื่อ Initialize ค่าตัวแปรใหม่ และการกำหนดค่าให้กับตัวแปร
    • การซ่อนฟิลด์ใน Report โดยกำหนดที่ Suppress ของ Object 34 สรุปเกี่ยวกับการใช้งาน Crystal Report
    • สรุปเกี่ยวกับการใช้งาน Crystal Report
    • สรุปเกี่ยวกับการส่ง DataTable เข้าไปใน Report
  • 35 การสร้าง DataSet ไฟล์ xsd ใน Visual Studio .Net 2005
    • การสร้าง DataSet ไฟล์ใน Project
    • การ Add Table หรือ Field เข้าไปในส่วนของ xsd
    • การเลือก Table จาก Database ที่มีอยู่แล้ว
  • 36 การทำ Report โดยดึงข้อมูลจาก DataSet ไฟล์ xsd
    • การนำ xsd ซึ่งเป็น DataSet ไฟล์มาออกแบบ Report
    • ต้อง Build Project ก่อนจะออก Report
    • ให้ส่งข้อมูลเข้าใน Report แบบนี้ โดยส่ง DataTables เข้าไป
จำนวนหนังสือ 1 เล่ม
เนื้อใน พิมพ์ 1 สี
จำนวนหน้า 164 หน้า
ขนาดรูปเล่ม 180 x 245 มิลลิเมตร
รูปแบบปก ปกอ่อน
น้ำหนัก 405.0000
ผู้เขียน ธงชัย พยุงภร

ASP.NET 2005 Training จะมีรวมทั้งสิ้น คือ หนังสือ 2 เล่ม + CD-Rom 6 แผ่น โดยจะแบ่งขายเป็น 2 ชุดคือ

ASP.NET 2005 Training ชุดที่ 1

ASP.NET 2005 Training ชุดที่ 2 (ชุดที่คุณกำลังเปิดชมอยู่นี้)

เนื้อหาภายใน

ซีดีแผ่นที่ 1

  • 1 สร้าง Project ใหม่ และ Folder ต่าง ๆ เพื่อทำการศึกษาต่อ
    • เตรียม Project ใหม่และ Folder ต่าง ๆ เพื่อทำการศึกษาต่อ
    • เปลี่ยน Path ของ Database - ตรวจสอบ Class ที่ติดต่อกับ Database
  • 2 การเพิ่ม Columns เข้าใน GridView และการจัดการ Columns ใน GridView โดยใช้
    • การทดสอบทุกครั้งให้ปิด IE ก่อนเพราะมีการเก็บลง Session
    • สร้าง Tag Columns ให้กับ GridView เพื่อสร้าง Columns ต่าง ๆ เอง
    • กำหนด AutoGenerateColumns ให้เป็น False
    • การสร้าง BoundFiled และกำหนดที่ Property DataField, SortExpression, HeaderText
    • การกำหนดชิดซ้ายชิดขวาให้กับ Columns โดยกำหนดที่ Property HeaderStyle-HorizontalAlign และ ItemStyle-HorizontalAlign
  • 3 การกำหนดรูปแบบการแสดงผลที่ DataFormatString ให้กับ BoundField ใน GridView และ HtmlEncode
    • การทำให้ Field ราคาขายแสดงผลทศนิยมตามที่ต้องการ
    • การกำหนดรูปแบบที่ DataFormatString เพื่อแสดงผลราคาขายให้มีทศนิยม 2 ตำแหน่ง
    • จัดรูปแบบ Field ในช่องราคาขาย
    • การกำหนด Property HtmlEncode เป็น false เพื่อให้ BoundFields สามารถแสดง Format ที่ต้องการได้ใน Visual Studio 2005
  • 4 การสร้าง Calculated Fields เพื่อทำเป็น Field ที่มีการคำนวณอัตโนมัติ
    • แสดง Field จำนวนสินค้า
    • เพิ่ม field ให้กับ DataTable ในลักษณะที่เป็น Calculated Columns
    • ข้อดีของ Calculated Fields เมื่อเทียบกับการเขียน SQL Statement แบบใช้ select as fieldname
    • การกำหนดรูปแบบโดยกำหนดที่ Property DataFormatString ได้แก่ {0:c2}, {0:n2} และ {0:#,##0.00}
  • 5 การทำให้ GridView สามารถแก้ไขข้อมูลได้ และการเขียนโปรแกรมที่ RowEditing
    • AutoGenerateEditButton กำหนดให้เป็น True
    • เขียนโปรแกรมที่ Event RowEditing
    • การอ้างแถวในการ Edit เมื่อมีการแบ่งข้อมูลเป็น Page
    • ให้ศึกษาเปรียบเทียบกับ DataGrid ที่ได้ศึกษาไปแล้วใน CD ASP.NET ชุดแรก
  • 6 การสร้าง CommandField และ CheckBoxField ใน GridView
    • การเพิ่มปุ่มเข้าไปใน GridView โดยใช้
    • การเพิ่ม Checkbox เข้าไปใน GridView โดยใช้
    • การกำหนดให้ Checkbox อยู่ตรงกลาง Column
  • 7 การใช้ AutoGenerateSelectButton และการทำให้บาง Column ไม่สามารถแก้ไขได้
    • การทำให้ GridView สามารถเลือกแถวที่ต้องการโดยใช้ AutiGenerateSelectButton
    • การกำหนด Property ReadOnly เป็น True เพื่อล็อคไม่ให้ Column นั้นสามารถแก้ไขได้
  • 8 การสร้าง Column ชื่อกลุ่มสินค้าโดย Inner Join กับ Table กลุ่มสินค้า และการสร้าง TemplateField
    • การเขียนคำสั่ง inner join ใน Sql Statement เพื่อแสดงชื่อกลุ่มสินค้า
    • การสร้าง TemplateField
  • 9 รู้จักกับ , เมื่อมีการแก้ไขต้องการให้เป็น DropdownList เพื่อให้ผู้ใช้เลือก
    • การทำ DropdownList ใน GridView เมื่อมีการแก้ไข
    • โครงสร้างของ TemplateField : ItemTemplate และ EditItemTemplate
  • 10 รู้จักกับ Event RowEditing, RowDataBound ของ GridView
    • รู้จักกับ Event RowEditing, RowDataBound ของ GridView
    • การใช้คำสั่ง RowState เพื่อตรวจสอบสถานะของ Row ใน GridView ว่าอยู่ในสถานะ Edit หรือไม่
    • หลักการอ้าง Control ใน GridView ได้แก่ TextBox ใน GridView
    • RowDatabound ทำให้สามารถอ้าง Field ต่าง ๆ ของ Records ได้
    • การปรับรูปแบบของ Textbox เมื่อมีการ Edit เช่น การกำหนดสี หรือความกว้างของ TextBox
  • 11 การ Bound ข้อมูลเข้าไปใน DropdownList ที่อยู่ใน GridView และการตรวจสอบ RowState
    • การอ้าง DropDownList โดยใช้ FindControl โดยการเขียนที่ RowDataBound
    • การเช็ค RowState โดยการใช้ And แทนการใช้ =
    • การใส่ข้อมูลเข้าไปใน DropDownList
  • 12 การปรับความกว้างของ Control โดยใช้ Unit.Pixel และการอ้างถึง TextBox ใน GridView
    • การอ้าง TextBox ใน GridView - การปรับความกว้างของ Control
    • การปรับรูปแบบของ Column ใน GridView ขณะที่อยู่ในสถานะ Edit
    • การปรับ TextBox ให้ข้อความชิดขวา และ Control ชิดขวา
  • 13 การใส่ภาพใน GridView และการตรวจสอบเงื่อนไขในการแสดงภาพ
    • การแสดงภาพใน Column ของ GridView
    • ข้อแตกต่างระหว่าง TemplateField กับ BoundField
    • การสร้าง Function เพื่อตรวจสอบภาพและแสดงภาพ
  • 14 การตรวจสอบว่า File มีอยู่จริงหรือไม่โดยใช้ IO.File.Exists และแสดงภาพตามกลุ่มสินค้า
    • การตรวจสอบไฟล์ภาพว่ามีอยู่หรือไม่ก่อนแสดงภาพ
    • ความหมายของ Server.MapPath
    • การใช้คำสั่ง Replace เพื่อแทนที่ข้อความที่ต้องการ
    • เปรียบเทียบการเขียนระหว่างการ FindControl และการใช้ Function ที่สร้างขึ้น
  • 15 การลบแถวใน GridView และ AutoGenerateDeleteButton และการทำให้มี alert เตือนว่าต้องการลบหรือไม่
    • การทำให้เมื่อกด Delete ใน GridView แล้วมี Msgbox ขึ้นมา Confirm ว่าต้องการลบหรือไม่
    • การเขียนที่ RowCreated Event โดยตรวจสอบว่าเป็น DataRow
    • การอ้าง Control ของปุ่ม Delete
    • การอ้าง Controls ต่าง ๆ ใน AutoGenerateButtons ต่าง ๆ
    • การเขียนให้ confirm ที่ OnClientClick และการใช้ Attributes.Add
  • 16 การทำให้ DropdownList ใน GridView ให้ Highlight ที่ข้อมูลในรายการที่เราต้องการ และปรับ Columns ต่าง ๆ ให้ได้ตามที่ต้องการ
    • ปรับรูปแบบ Columns ต่าง ๆ ให้ได้ตามที่ต้องการ
    • การทำให้ DropDownList เลือกไปยังแถวที่ต้องการเมื่อมีการ Edit
    • การเขียน SelectedValue จำเป็นต้องเขียนหลังจาก DataBind
  • 17 เทคนิคการรันเลขลำดับแถวใน GridView และการใช้ Enum เพื่ออ้างถึง Column ต่าง ๆ
    • การทำ Run เลขแถวใน GridView
    • เทคนิคการอ้าง Columns โดยใช้ Enum เพื่อให้ง่ายต่อการอ้างถึงและแก้ไข
    • เปลี่ยนค่าต่าง ๆ ในการอ้าง cells จากหมายเลขให้เป็น Enumeration ทั้งหมด
  • 18 การใช้ TemplateField แทน CheckboxField เพื่อให้ Checkbox สามารถคลิกได้เพื่อเลือกข้อมูล
    • การทำ CheckBox เพื่อให้เลือก Records ที่ต้องการลบ
    • ข้อแตกต่างระหว่าง CheckBox Field กับ CheckBox ใน TemplateField
    • รูปแบบการเขียน Enumeration อีกแบบ โดยให้ใส่หมายเลขเฉพาะตัวแรก
  • 19 การใส่ control ในส่วนของ Header ของ TemplateField ของ GridView
    • การใส่ Checkbox ในส่วนของ Header ของ GridView โดยใส่ในส่วนของ HeaderTemplate
  • 20 การทำ CheckBox แบบเลือกทั้งหมดให้เหมือนใน Hotmail และการโยง Event ให้กับ Control ย่อยใน GridView และการอ้าง GridViewRow
    • การทำ CheckBox แบบเลือกทั้งหมดให้เหมือนใน Hotmail
    • การกำหนด Property AutoPostBack ของ CheckBox ให้เป็น True
    • การเขียนที่ OnCheckChanged ของ CheckBox
    • การสร้าง Event เพื่อใช้กับ OnCheckChanged และต้องกำหนดให้เป็น Public
    • การอ้างแต่ละแถวใน Grid โดยใช้ GridViewRow
    • การอ้าง CheckBox ในแต่ละแถวของ Grid
  • 21 เทคนิคการรันเลขลำดับแถวใน GridView โดยการเขียนที่ RowCreated และข้อแตกต่างระหว่าง RowIndex และ DataItemIndex
    • การ Run เลขแถวใน GridView
    • ให้เขียนที่ RowCreated และตรวจสอบว่าเป็นแถวของข้อมูล
    • สร้าง TemplateField เพื่อให้ Run เลขแถว
    • ข้อแตกต่างระหว่าง RowIndex และ DataItemIndex
  • 22 การใช้ DataKeyName ของ GridView และการดึงค่า Fields ที่ซ่อนไว้ในแต่ละแถว
    • การใช้ DataKeyNames เพื่อซ่อนค่า Field ใน GridView ซึ่งสามารถซ่อนได้หลาย Fields
    • เขียนที่ SelectedIndexChanging เพื่อให้ซ้อน GridView ใน Column ของ GridView ที่ต้องการ
    • การอ้างค่า DataKeys ที่ได้ซ่อนไว้ใน DataKeyNames - แถวที่เลือกได้ค่าจาก e.NewSelectedIndex
  • 23 ดึงข้อมูล Order Details จากสินค้าที่เลือกเพื่อมาแสดงใน GridView อีกตัวหนึ่ง
    • ดึงข้อมูล Order Details มาแสดงเมื่อเลือกสินค้าที่ต้องการ
    • ตัวอย่าง doctordiag.com ที่เขียนโปรแกรมแบบไม่ Refresh Page
  • 24 การเขียนโปรแกรมให้แสดง GridView ใน Column ของ GridView อีกตัวหนึ่ง
    • การเขียนโปรแกรมให้แสดง GridView ใน Column ของ GridView อีกตัวหนึ่ง (ต่อ)
    • การ Add Control GridView เพื่อให้สามารถแทรกใน Column ของ GridView ตัวหลัก
    • เทคนิคการเขียนโปรแกรม GridView ให้ซ้อนอยู่ใน GridView ตัวหลัก
  • 25 การแทรก Control เพิ่มเติมเช่น Literal นอกจาก GridView แล้ว และรู้จักกับ TableCell
    • การเพิ่ม Control ขณะ runtime ให้มีมากกว่า 1 ตัว ได้แก่ Literal และ GridView
    • การอ้างถึง TableCell เพื่อให้สะดวกในการจัดการ Cell ที่ต้องการ
  • 26 การทำให้ GridView แสดง Footer และการ Merge Cells ใน FooterRow
    • การอ้างแถวใน FooterRow
    • การ Merge Cells ใน Footer โดยใช้คำสั่ง RemoveAt และ ColumnSpan
    • การส่งค่าข้าม Page โดยใช้ Request.querystring
    • การให้คลิกที่ Hyperlink แล้วเปิด window ใหม่ขึ้นมา โดยใช้ target=_blank
  • 27 การนำค่าที่ส่งข้าม Form โดยใช้ Request.Querystring มาใช้งาน เพื่อดึงข้อมูล Order Details ทั้งหมดของสินค้าที่เลือกมาแสดง
    • การใช้ Request.QueryString
    • ดึงข้อมูล Order Details ของสินค้าที่เลือกมาแสดงข้าม Page
  • 28 การเพิ่ม Column ใหม่ใน DataTable ในขณะ Runtime (Calculated Column)
    • การทำ Calculated Column ใน DataTable
    • การจัดการ Column ของ GridView โดยใช้การกำหนดค่าใน Property Columns
    • การ Add Column ใน GridView ที่อยู่ใน Property Window
    • กำหนด Field จำนวนเงินให้มีทศนิยม 2 ตำแหน่ง และ HtmlEncode
  • 29 การหาผลรวมของ Column ใน GridView โดยใช้คำสั่ง Compute ของ DataTable แล้วแสดงใน FooterRow
    • การหาผลรวมโดยใช้ Compute ของ DataTable
    • การนำค่าผลรวมที่คำนวณได้มาใส่ใน Footer ของ GridView
    • การใส่ค่าใน FooterRow ให้ใส่หลังจาก DataBind ของ GridView แล้ว
  • 30 การนำ HTML Tag มาใช้จัดรูปแบบการแสดงผลของ Footer ใน GridView และการ Merge Cells ใน Footer
    • การ Merge Cells ใน FooterRow เพื่อจัดให้ได้รูปแบบที่ต้องการ
    • ปรับรูปแบบการแสดงผลใน FooterRow"

ซีดีแผ่นที่ 2

  • 1 การกำหนด Security ของ Folder ของฐานข้อมูล และการลบข้อมูลแต่ละแถวใน GridView
    • ศึกษาเกี่ยวกับ GridView ต่อ
    • สร้าง Projct ใหม่ และเตรียมงานเพื่อการศึกษาต่อ
    • การแก้ไขภายใน GridView
    • การกำหนด Security ของ Folder ที่เก็บฐานข้อมูล ใน Windows versions ต่าง ๆ
    • การลบข้อมูลทีละแถวใน GridView โดยเขียนที่ Event RowDeleting
    • การอ้างแถวข้อมูล (DataRowView) ที่ต้องการลบ โดยใช้ RowIndex และการอ้าง Key ของข้อมูลแต่ละแถว
    • ความหมายของ DataRow.AcceptChanges
  • 2 เขียนโปรแกรมลบทุกแถวที่มีการ checked ไว้ที่ CheckBox และความหมายของ StringBuilder ที่ดีกว่า String ทั่วไป
    • ตรวจสอบการลบข้อมูลทุก ๆ Page รวมถึง Page สุดท้าย
    • การเขียนโปรแกรมลบแถวทุกแถวที่มีการ Checked ไว้
    • ความหมายของ StringBuilder และข้อดีที่ดีกว่า String ทั่วไป
    • การวน loop ในแต่ละแถวของ GridView โดยใช้ Object GridViewRow
    • การอ้าง CheckBox ที่อยู่ในแต่ละแถวของ GridView และการใช้ FindControl
    • การอ้าง Key ในแต่ละแถว โดยใช้ DataKeys เฉพาะแถวที่มีการ Checked
  • 3 การอ้างแถวที่ต้องการลบใน GridView และลบหลาย ๆ records ออกจากฐานข้อมูลจริง
    • Properties และ Methods ของ StringBuilder
    • เขียนโปรแกรมให้ลบข้อมูลในฐานข้อมูลจริง โดยอ้างจาก Checkbox ที่มีการเลือกไว้
  • 4 การเพิ่มข้อมูลแถวใหม่ ใน GridView
    • การเพิ่มข้อมูลแถวใหม่ โดยใช้ DataTable.NewRow ใน GridView
    • การใส่ค่า Default ให้กับ Fields ต่าง ๆ เมื่อมีการเพิ่มแถวใหม่
    • การอ้างไปยัง Page และแถวที่ต้องการของ GridView
  • 5 การจัดการค่า Default ของ Record ใหม่ และการใช้ DataTable.Compute
    • การหาค่า Default ของ ProductID ซึ่งเป็น AutoNumber
    • การใช้ DataTable.Compute เพื่อหาค่า Max ของ ProductID
  • 6 การป้องกันการ New Record ซ้ำ ๆ กัน และการตรวจสอบ RowState ของแถว
    • การป้องกันการ New Record ที่ซ้ำ ๆ กัน
    • การตรวจสอบข้อมูลแถวใหม่ว่ามีอยู่หรือไม่ โดยใช้ DataView.RowStateFilter
  • 7 การยกเลิกการแก้ไขของแถวข้อมูลใน GridView และการตรวจสอบ RowState ของแถว
    • การยกเลิกการแก้ไขข้อมูล - การอ้าง DataRowView และ DataRow
    • RowVersion ของ DataRow
    • การตรวจสอบว่าเป็นแถวใหม่หรือไม่โดยใช้ DataRowView.IsNew และข้อผิดพลาด
    • การตรวจสอบว่าเป็นแถวใหม่หรือไม่ โดยใช้ DataRow.RowState
  • 8 การ Update แถวข้อมูลใน GridView โดยเขียนที่ RowUpdating และการเขียน Update Statement แบบมี Parameters
    • การยกเลิกการแก้ไข ให้ใช้ EditIndex มีค่าเป็น -1
    • การ Update ข้อมูลให้เขียนที่ RowUpdating
    • ถ้าสภาวะของแถวมีค่าเป็น Add จะเขียน SQL Statement เป็น insert into
    • แต่ถ้าสภาวะของแถวมีค่าเป็นการแก้ไข จะเขียน Statement แบบ UpdateSet
    • การเขียน Update Statement แบบ OledbCommand ที่มี Parameters
    • การอ้างค่า KeyField แบบอื่น
  • 9 ส่งค่า Parameters เข้าไปใน OledbCommand เพื่อ Update และการอ้าง Controls ต่าง ๆ ใน GridView
    • การ Update แบบมี Parameters
    • การสร้าง Parameters และการส่งค่า Parameters เข้าไปใน OledbCommand
    • การกำหนด DataTypes ของ Parameters
    • การอ้าง TextBox และ Controls ต่าง ๆ เพื่อส่งค่าเข้าไป Update ในฐานข้อมูล
    • การอ้าง DropDownList ที่ได้สร้างไว้ โดยใช้ FinControl
    • การอ้างค่า Cells ในแต่ละแถวให้ถูกต้อง
  • 10 การตรวจสอบ Error และการตรวจสอบค่าของ Control ก่อนการ Update และการเพิ่ม Javascript ขณะ Runtime แบบต่าง ๆ
    • การใช้ RegisterClientScrptBlock และการ Add Javascript ขณะ Runtime
    • การควบคุมการ Alert ของเราเอง
    • เทคนิคการเพิ่ม Javascript แบบอื่น โดยควบคุมเอง และใช้ตัวแปร
    • การใช้ ClientID เพื่ออ้างถึง Control ที่ต้องการทางด้าน Client
    • เทคนิคการกำหนดให้ Focus ที่ Control โดยการควบคุม Javascript เอง
  • 11 การ Validate ข้อมูลต่าง ๆ ก่อนการ Update แบบควบคุมเอง
    • การควบคุมและการ Validate ข้อมูล กับ Field ต่าง ๆ ก่อน Update แบบควบคุมเอง
  • 12 จัดการกับ OledbCommad ที่สร้างขึ้นแบบมี Parameters และการส่งค่า และตรวจสอบผลของการ Insert หรือ Update ว่าได้หรือไม่
    • จัดการกับ OledbCommad ที่สร้างขึ้นแบบมี Parameters และการส่งค่าเข้า OledbParameter
    • Update ลงฐานข้อมูลโดยใช้ ExecureNonQuery
    • ตรวจสอบว่า Update หรือ Insert ได้หรือไม่
    • หลังจาก Update ลงฐานข้อมูลได้แล้ว จำเป็นต้อง Update ข้อมูลที่อยู่ใน Session ด้วย 
  • 13 การตรวจสอบค่า AutoNumber หลังจากการ Insert โดยใช้ @@identity
    • การตรวจสอบค่า AutoNumber หลังจาก Insert ข้อมูล โดยใช้ Select @@identity
    • การปรับ Class ของ เราให้สามารถตรวจสอบหาค่า identity ได้หลังจากที่มีการ Insert
    • การตรวจสอบค่า identity ต้องอยู่ภายใต้ OledbConnection เดียวกัน
    • การสร้าง Optional Parameters ในฟังก์ชั่นของเรา
  • 14 การนำค่า Identity ที่ได้มาจัดการกับข้อมูลเมื่อมีการ Insert
    • เมื่อมีการเพิ่มข้อมูล ให้ดึงค่า AutoNumber มาอัตโนมัติ
    • จัดการ Update ค่าใน Session ของข้อมูลแถวที่เพิ่มใหม่ ด้วยค่า identity ที่หาได้
    • ปิดท้ายด้วย AcceptChanges เมื่อการ Insert และ Update สมบูรณ์
    • ความสำคัญของการ Check State ของแถวข้อมูล
  • 15 ตรวจสอบข้อมูลทั้งหมดเมื่อมีการเพิ่มข้อมูล และ Update ข้อมูล และตรวจสอบผลของ Identity
    • ตรวจสอบผลทั้งหมดเมื่อมีการเพิ่มข้อมูล
    • ตรวจสอบค่า identity หลังจากที่เพิ่มข้อมูล
    • ตรวจสอบการ Update ข้อมูลว่าถูกต้องหรือไม่
  • 16 ตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น เมื่อมีการเพิ่มข้อมูล
    • ตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น เมื่อมีการเพิ่มข้อมูล
    • แก้ไขใน Class ที่เขียนผิด เนื่องจากเมื่อมีการเพิ่มข้อมูล ข้อมูลจะเข้าไป 2 records
  • 17 สรุปผลและตรวจสอบทั้งหมด เมื่อมีการแก้ไข และ Update ข้อมูล
    • สรุปผลและตรวจสอบทั้งหมด เมื่อมีการแก้ไข และ Update ข้อมูล
  • 18 การสร้าง Menu ใน ASP.NET 2.0 และการเพิ่มรายการในเมนู
    • สร้าง Menu ใน ASP.NET 2.0 ซึ่งไม่มีใน ASP.NET 1.1
    • การเพิ่มรายการย่อยในเมนู - การใช้ NavigateURL
  • 19 Tags ต่าง ๆ ใน Menu ซึ่งประกอบด้วย MenuItem
    • Tag ย่อยของ Menu คือ MenuItem
    • การกำหนดสีสันต่าง ๆ ของเมนู
  • 20 การปรับ Menu ให้อยู่ในรูปแบบแนวนอน และการเพิ่มเมนู ในขณะ Runtime
    • การปรับเมนูให้อยู่ในแนวนอน โดยกำหนดที่ Orientation
    • การเพิ่มรายการย่อยในเมนูในขณะ Runtime
    • การเพิ่มรายการเมนูหลัก และเมนูย่อยในขณะ Runtime
  • 21 การทำเมนูหลัก โดยการดึงมาจากฐานข้อมูล
    • การเพิ่มรายการในเมนู โดยดึงมาจากฐานข้อมูล
    • ดึงข้อมูลกลุ่มสินค้ามาไว้ใน Menu
    • วน Loop ข้อมูลแต่ละแถว (DataRow) เพื่อมาสร้างเมนูแต่ละรายการ
  • 22 การใส่ภาพในเมนู และการดึงข้อมูลเพื่อมาใส่ในระดับที่ 2 ของเมนู เพื่อทำเป็นเมนูย่อย และการใช้ DataRelation ใน Dataset
    • การใส่ภาพให้กับเมนูในแต่ละรายการ
    • การใส่รายการย่อยของเมนูแต่ละตัว
    • การ Add Table เข้าไปใน DataSet จำเป็นต้องตั้งชื่อ Table ให้ไม่เหมือนกัน
    • การสร้าง DataRelation เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง Tables ซึ่งจำเป็นต้องสร้าง DataSet ก่อน
    • การอ้าง Fields ที่ทำ Relation โดยใช้ DataColumn
    • การดึงข้อมูลที่สัมพันธ์กัน โดยใช้ GetChildRows ตามที่ Relation ที่ได้สร้างไว้
    • การ Add Menu ย่อย ให้ใช้ ChildItems.Add
  • 23 การสร้าง Link ในเมนูย่อยในเมนูแต่ละตัว โดยใช้ NavigateUrl และ QueryString
    • การทำ Link ในเมนูโดยใช้ NavigageUrl และ QueryString
    • การกำหนด Target ในเมนู เพื่อเปิดหน้า Web Page ใหม่
  • 24 การใช้และการสร้าง TreeView และการ Add Nodes โดยใช้คำสั่ง
    • การสร้าง และรูปแบบของ TreeView ซึ่งไม่มีใน ASP.NET 1.1
    • โครงสร้างของ TreeView ประกอบด้วย Nodes
    • สร้างรายการย่อยต่าง ๆ ใน TreeView ซึ่งมีรูปแบบแหมือนกับ Menu
    • การ Add Nodes โดยใช้คำสั่งในระดับต่าง ๆ และการใช้ ChildNodes
  • 25 การเขียนโปรแกรมที่ SelectedNodeChanged ของ TreeView
    • เขียนโปรแกรมที่ SelectedNodeChanged เมื่อมีการเลือก Nodes ใด ๆ ใน TreeView
    • ข้อแตกต่างระหว่าง Click แล้วให้ PostBack หรือจะใช้ NavigateUrl
    • ต้องอย่าลืมใส่ If Not Page.IsPostBack ไม่เช่นนั้นใน TreeView จะ Add รายการเพิ่มเข้าไปซ้ำ เพราะมีการเก็บเข้า ViewState
  • 26 การดึงข้อมูลจาก SQL Server มาใส่เป็นรายการในแต่ละ Nodes ของ TreeView และการดึงข้อมูลหลาย Tables มาพร้อมกันเป็น DataSet
    • ดึงข้อมูลจาก SQL Server มาใส่ใน Nodes ของ TreeViewการกำหนดให้ ShowLines เพื่อให้เส้นแขนงระหว่างรอยต่อ
    • การดึงข้อมูลจาก SQL Server มาเป็น DataSet เลย ซึ่งมี 2 Tables
    • การสร้างความสัมพันธ์อีกแบบ โดยใช้ DataView และ RowFilter
  • 27 การกำหนดให้ TreeView ให้ Expand ถึงระดับที่ต้องการและ ExpandDepth
    • การกำหนด ExpandDepth ใน TreeView เพื่อกำหนดให้ TreeView สามารถขยายได้ถึงระดับไหน
    • ตรวจสอบรายการที่เลือกโดยใช้ SelectedNodeChanged - Node ที่เลือกคือ SelectedNode
  • 28 การ Upload ไปยัง Server โดยใช้ FileUpload
    • การเขียนโปรแกรมเพื่อให้สามารถ Upload เข้า Server โดยใช้ FileUpload
    • ข้อแตกต่างเมื่อเทียบกับ Visual Studio 2003
    • การตรวจสอบว่ามีไฟล์ที่ Upload มาหรือไม่ โดยใช้ HasFile
    • ตรวจสอบประเภทไฟล์ที่ Upload โดยใช้ ContentType
    • การตรวจสอบขนาดไฟล์โดยใช้ ContentLength
    • การกำหนด Security ของ Folder ที่จะให้ Upload
  • 29 บันทึกไฟล์ที่ Upload ไว้ใน Folder ที่ต้องการ
    • บันทึกไฟล์ที่ Upload ไว้ใน Folder ที่ต้องการ
    • การตัดส่วนของไฟล์ เป็นส่วนต่าง ๆ เช่น ชื่อไฟล์, นามสกุล โดยการใช้ object Path
    • ทบทวนการใช้ Server.MapPath เพื่อหา Physical Path ที่ต้องการจริง ๆ
    • การตรวจสอบไฟล์ว่ามีหรือไม่ ก่อนบันทึกลงใน Folder"

ซีดีแผ่นที่ 3

  • 1 การสร้าง Page Break เพื่อให้ขึ้นหน้าใหม่เวลา Print Web Page โดยใช้ StyleSheet
    • การใช้ StyleSheet เพื่อแบ่งหน้า ขึ้นหน้าใหม่
    • การ config Web Page เวลา Print
    • ใช้ StyleSheet : page-break-before เพื่อกำหนดให้ขึ้นหน้าใหม่ ก่อนพิมพ์บรรทัดดังกล่าว และ page-break-after
  • 2 การซ่อนไม่ให้ Print ในบางส่วนของ Web Page และการใช้ @media Print
    • การใช้ StyleSheet เพื่อกำหนดรูปแบบในการ Print ข้อมูลบน Web
    • การใช้ @media Print
    • การซ่อนบางส่วนของ Web Page ไม่ให้ Print
  • 3 การกำหนด Stylesheet ให้รูปแบบที่แสดงบน Web ต่างจากรูปแบบตอน Print
    • การกำหนด Stylesheet ให้รูปแบบที่แสดงบน Web ต่างจากรูปแบบตอน Print
    • ตัวอย่างตอนอยู่ใน Web Page แสดงสีน้ำเงิน แต่ตอน Print ให้แสดงเป็นสีแดง
  • 4 ความหมายของการกำหนด Style แบบ position:absolute และการทำ Pre-Print Form
    • การกำหนด StyleSheet ให้ตำแหน่งเป็น Absolute
    • การสร้าง Pre-Print Form และการกำหนดระยะและตำแหน่งในที่ต้องการ
    • การกำหนดตำแหน่งที่เฉพาะ จะไม่สามารถว่ากำหนดอยู่หน้าที่ต้องการได้
  • 5 การใช้ Repeater เพื่อช่วยควบคุมงาน Print ในกรณีที่ต้องการ Print หลาย ๆ หน้าไปด้วยกัน และการแบ่งหน้าขึ้นหน้าใหม่
    • การควบคุมงาน Print ให้ Print หลาย ๆ หน้าทีเดียว โดยใช้ Repeater ช่วย
    • การแบ่งหน้าใน Repeater
    • การดึงข้อมูล และการแบ่งข้อมูลในการ Print หน้าละ 10 records
    • การใช้ Math.Ceiling เพื่อปัดเศษขึ้น
    • การสร้าง Array เพื่อกำหนดจำนวนหน้าใน Print ภายใต้ Repeater
  • 6 การ Add GridView ขณะ Runtime เข้าไปใน ItemTemplate ของ Repeater เพื่อแยกข้อมูลในแต่ละหน้า และการใช้ DataTable.Clone
    • การแบ่งข้อมูลหน้าละ 10 records เพื่อเอาข้อมูลเข้า GridView
    • การใช้ DataTable.Clone และการแบ่งข้อมูลเป็นชุด ๆ
    • การคำนวณตำแหน่ง Record เริ่มต้น และ Record สุดท้ายในแต่ละหน้า
    • การสร้าง GridView เพิ่มในแต่ละส่วนของ Repeater เพื่อแยก GridView ในแต่ละหน้า
    • การใช้ ImportRow เพื่อ Copy ข้อมูลจาก DataTable ตัวหนึ่งไปยัง DataTable อีกตัวหนึ่ง
  • 7 การแบ่ง Page เพื่อขึ้นหน้าใหม่ภายใน Repeater เพื่อแบ่ง GridView ในการ Print เป็นหลาย ๆ หน้า
    • การทำ Clone ของ Table จะได้เฉพาะ Structure ของ DataTable เท่านั้น
    • การทำ Page Break เพื่อแบ่งหน้าในแต่ละหน้า ภายใน Repeater
    • นำความรู้ page-break-after ของ StyleSheet มาใช้
    • การป้องกันการขึ้นหน้าใหม่ที่หน้าสุดท้าย
  • 8 ถ้ากำหนดซ่อน และขึ้นหน้าใหม่ในจุดเดียวกันจะทำให้ไม่สามารถขึ้นหน้าใหม่ได้ และการแก้ไข
    • อธิบายโดยรวมในการแบ่งหน้าในการ Print 
    • ควบคุมบางส่วน ไม่ให้ Print จะทำให้ page-break-after ไม่ทำงานและการแก้ไข
  • 9ความหมายของ Item และ AlternatingItem ใน Repeater และข้อควรระวังในการตรวจสอบประเภทของแถว
    • Repeater มีหน้าที่ในการควบคุมการวน loop จำนวนหน้าทั้งหมด
    • ความหมายของ ItemTemplate และ AlternatingItem ใน Repeater
    • การตรวจสอบประเภทแถวใน Repeater
    • การเขียนโปรแกรมต้องตรวจสอบทั้ง Item และ AlternatingItem
  • 10 การออกรายงานอีกรูปแบบหนึ่ง โดยใช้ Repeater ร่วมกับ WebUserControl
    • การออกแบบ Report ขึ้นเองโดยใช้ WebUserControl เพื่อออกแบบในส่วน Detail
    • การนำ GridView มาไว้ใน WebUserControl และกำหนดรูปแบบขึ้นเอง
    • การนำ WebUserControl มาใช้งาน และคำสั่ง LoadControl
    •  การส่งค่า DataTable เข้าไปใน WebUserControl
    • ความหมายของการ Register WebUserControl
  • 11 การปรับรูปแบบการแสดงผลของ GridView ภายใน WebUserControl เพื่อออกรายงาน
    • การปรับรูปแบบใน GridView เพื่อแสดงผลภายใน WebUserControl เพื่อออกรายงาน
    • ทบทวนการจัดรูปแบบใน GridView
  • 12 การใส่ภาพ โดยใช้ TemplateField ใน GridView เพื่อออกรายงาน และการสร้าง Function เพื่ออ้างรูป
    • การใส่ภาพ โดยใช้ TemplateField ใน GridView เพื่อออกรายงาน
    • การสร้าง Function ในการอ้างภาพ เพื่อให้ใส่รูปเฉพาะกลุ่มที่ต้องการ
  • 13 การใช้งาน CrystalReportViewer และการสร้าง Report ใน CrystalReport
    • การสร้างรายงานโดยใช้ CrystalReport - การใช้ CrystalReportViewer
    • การเลือก Database เพื่อออกรายงานใน CrystalReport
    • การเขียนโปรแกรมเพื่อเปิดรายงานมาออก Report
    • Namespaces ที่ต้องใช้ของ CrystalReport
    • คำสั่งในการเปิด Report 14 การ Export Report จาก CrystalReportViewer ไปเป็นไฟล์ต่าง ๆ
    • การ Export จาก CrystalReportViewer ผ่าน Web
  • 15 การ Print Report จาก CrystalReportViewer ให้อยู่ในรูป Adobe Acrobat
    • Option ในการติดตั้ง CrystalReport
    • รูปแบบการ Print ออกเป็น Adobe Acrobar
  • 16 ความหมายของ Property PrintMode ใน CrystalReportViewer
    • รูปแบบที่ออกรายงาน ก็จะมีรูปแบบเป็น HTML และมี Javascript 
    • PrintMode ใน CrystalReportViewer เพื่อ Print เป็น Adobe Acrobat หรือ Print โดยใช้ ActiveX Control
  • 17 ปรับการตั้งค่าใน Internet Explorer เพื่อให้สามารถใช้คำสั่ง Print ใน CrystalReportViewer ได้
    • การปรับตั้งค่า Internet Explorer เพื่อให้สามารถใช้ CrystalReportViewer
    • ตรวจสอบ Option ต่าง ๆ ใน IE
  • 18 การใช้ RecordSelectionFormula ใน CrystalReportViewer เพื่อ Filter ให้แสดงรายงานเฉพาะ records ที่ต้องการ
    • การใช้ RecordSelectionFormula เพื่อ Filter ข้อมูลให้กับ Report
  • 19 การเขียนโปรแกรมเพื่อเปลี่ยนรูปแบบในการเรียงข้อมูลใน CrystalReportViewer
    • การเรียงข้อมูลโดยใช้ Record Sort Expert
    • การอ้าง SortFields ในการเขียนโปรแกรม
    • การอ้าง Field ที่ต้องการเรียงข้อมูล โดยใช้ FieldDefinition
    • การปรับให้เรียงข้อมูลจากมากไปน้อย หรือน้อยไปมาก โดยการเขียนคำสั่ง
  • 20 การสร้าง Formula Fields ใน CrystalReport
    • การสร้าง Formula Field ใน Report
    • ประโยชน์ของ Formula Fields
    • การอ้าง Field ใน Formula
  • 21 การกำหนด Format ของ Formula Fields และการอ้าง Formula Fields ในขณะ runtime
    • การกำหนดรูปแบบทศนิยมภายใน Formula
    • การเขียนโปรแกรมอ้าง Formula Fields ที่ได้สร้างไว้
    • การส่งค่าเข้าไปใน Formula Fields และการส่งค่า String หรือเปลี่ยนสูตรใน Formula Fields
  • 22 การใช้งาน Special Fields ใน CrystalReport
    • Special Fields ที่สำคัญต่าง ๆ ใน CrystalReport
    • การกำหนด Format ของวันที่ 23 การส่งค่า DataTable เข้าไปใน CrystalReport
    • การค้นข้อมูลใน Report - การส่งค่า DataTable เข้าไปใน CrystalReport
    • ข้อดีของการส่ง DataTable เข้าไปใน Report
    • สามารถ Sort หรือ Filter ข้อมูลจาก DataTable หรือ DataView ทำให้ไม่ต้องใช้ SortField หรือ RecordSelectionFormula
  • 24 การใช้ CrystalReport กับ SQL Server, สร้าง Report แบบ 2 Tables และการสร้าง Group Section ใน Report
    • การสร้าง Report เพื่อติดต่อกับ SQL Server
    • ขั้นตอนการเลือก Database และ Fields ต่าง ๆ เพื่อมาออก Report
    • การสร้าง Group Section ใน Report - ส่วนของ DisplayGroupTree
  • 25 การใช้ TableLogonInfo เพื่อ User/password ในการติดต่อกับ SqlServer
    • ข้อควรระวังในการ connect แบบ Integrated Security
    • การใช้ TableLogonInfo
    • การเปลี่ยนค่า TableLogonInfo ต่าง ๆ เพื่อส่งค่าเข้า Report
  • 26 การส่งค่า DataTables หลายตัวเข้าไปใน CrystalReport เมื่อติดต่อกับ SqlServer
    • การส่งค่า DataTables เข้าไปใน CrystalReport เมื่อติดต่อกับ SqlServer
    • การจัดการกับ Tables หลายตัว โดยใช้ DataSet
    • การส่ง DataTable เข้าไปใน Report ทำให้ไม่ต้องส่งค่า TableLogonInfo เข้าไปใน Report
  • 27 ความหมายของ Underlay Following Sections เพื่อดึงข้อมูลในส่วน Detail มาอยู่ในส่วนของ Group Section
    • ความหมายของ Underlay Following Sections เพื่อดึงข้อมูลในส่วน Detail มาอยู่ในส่วนของ Group Section
    • ข้อจำกัดของการใช้ CrystalReport ใน web
  • 28 การแทรกภาพใน CrystalReport และการใช้งาน SummaryFields
    • การใส่ภาพใน Crystal Report ซึ่งดึงมาจาก Field
    • การใช้งาน SummaryFields ในส่วนของ Group Footer หรือ Report Footer เพื่อสรุปผลในแต่ละกลุ่ม
  • 29 การทำ Hyperlink ใน Crystal Report เพื่อส่งค่า QueryString ไปที่ Web Form อื่น
    • การทำ Hyperlink ใน Crystal Report เพื่อส่งค่า QueryString ไปที่ Web Form อื่น
    • การใช้ function ToText เพื่อเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร และการปรับ Format ของ Object ใน Crystal Report
  • 30 การทำให้ Report Highlight แถวที่ต้องการ และการใส่สูตรในการกำหนดรูปแบบของ Formula
    • การใส่สูตรใน Format Option ของ Object ใน Crystal Report
    • การเน้นข้อมูลบางอย่าง โดยการใส่สูตร เช่น HighLight ข้อมูลที่ต้องการเน้น
    • การใช้ if ใน Formula - ค่าคงที่ของสีใน Report
    • การตัดตัวอักษรตัวแรกใน CrystalReort
  • 31 ความหมายและการใช้งาน ParameterFields ใน CrystalReport
    • ความหมายและการใช้งาน ParameterFields ใน CrystalReport
    • การสร้าง ParameterFields
    • ความหมายของ DiscreteValue และ RangeValue
    • การอ้างค่า ParameterField โดยใช้ {?PM1}
  • 32 การเขียนโปรแกรมเพื่อส่งค่า ParameterFields แบบ DiscreteValue เข้าไปใน CrystalReport
    • การเขียนโปรแกรมเพื่อส่งค่า ParameterFields แบบ DiscreteValue เข้าไปใน CrystalReport
    • การอ้าง ParameterValues และ การอ้าง DiscreteValue
    • สัญลักษณะของ Formula Fields และ ParameterFields
  • 33 การประกาศตัวแปรใน Formula Editor ของ CrystalReport และการทำค่าสะสมใน Report
    • ความหมายของการประกาศตัวแปรแบบ Shared
    • การทำฟิลด์สำหรับเก็บค่าสะสม
    • การทำฟิลด์เพื่อ Initialize ค่าตัวแปรใหม่ และการกำหนดค่าให้กับตัวแปร
    • การซ่อนฟิลด์ใน Report โดยกำหนดที่ Suppress ของ Object 34 สรุปเกี่ยวกับการใช้งาน Crystal Report
    • สรุปเกี่ยวกับการใช้งาน Crystal Report
    • สรุปเกี่ยวกับการส่ง DataTable เข้าไปใน Report
  • 35 การสร้าง DataSet ไฟล์ xsd ใน Visual Studio .Net 2005
    • การสร้าง DataSet ไฟล์ใน Project
    • การ Add Table หรือ Field เข้าไปในส่วนของ xsd
    • การเลือก Table จาก Database ที่มีอยู่แล้ว
  • 36 การทำ Report โดยดึงข้อมูลจาก DataSet ไฟล์ xsd
    • การนำ xsd ซึ่งเป็น DataSet ไฟล์มาออกแบบ Report
    • ต้อง Build Project ก่อนจะออก Report
    • ให้ส่งข้อมูลเข้าใน Report แบบนี้ โดยส่ง DataTables เข้าไป

เขียนรีวิวสินค้าของคุณเอง

คุณกำลังรีวิว: ASP.NET 2005 Training ชุดที่ 2

คุณจะให้คะแนนสินค้านี้อย่างไร? *

  1 2 3 4 5
คุณภาพสินค้า
ราคาเหมาะสม
เนื้อหาครบถ้วน
การจัดส่ง
บริการจากร้านค้า

คุณอาจจะสนใจในสินค้าดังต่อไปนี้

expand_less

กำลังดำเนินการ กรุณารอสักครู่...

{{var product.name}}
ได้ถูกเพิ่มเข้าไปยังตะกร้าสินค้าของคุณแล้ว



เลือกซื้อสินค้าต่อ
ดูตะกร้าสินค้า

นำ "{{var product.name}}" ออกจากตะกร้าสินค้าของคุณแล้ว