คุณยังไม่มีสินค้าในรถเข็น
รายละเอียดสินค้า | หากเราจะพูดถึงเครื่องมือที่จะช่วยจัดการงานทางด้านฐานข้อมูลแล้ว ผู้เขียนเชื่อว่า Microsoft Access จะเป็นเครื่องมืออันดับต้นๆ ที่ผู้ใช้ระดับทั่วไปนึกถึง Microsoft Access จะช่วยให้คุณสามารถสร้างโปรแกรม ประยุกต์ และมีการติดตามที่สวยงาม สามารถใช้งานได้จริง มีความสะดวกเร็วในการใช้งาน โดยไม่จำเป็นต้อง มีความรู้เชิงลึกเกี่ยวกับฐานข้อมูล และนอกจากนั้นคุณยังสามารถเรียนรู้เพิ่มเริ่มต้นใช้งานได้อย่างรวดเร็ว คุณยังสามารถสร้าง และปรับโปรแกรมประยุกต์และรายงานให้เปลี่ยนไปตามความต้องการทางธุรกิจได้ สื่อการสอนชุด “Access 2003-2007 QuickStart Tutorials” ที่ทางบริษัทเอ็มไอเอส ซอฟท์เทค จำกัด ร่วมกับ อ.ธงชัย พยุงภร ผลิตออกมานี้ เหมาะ สำหรับผู้ใช้ทุกระดับ ตั้งแต่ระดับเบื้องต้นไปจนถึงระดับมืออาชีพ เนื่องจากมีเนื้อหาที่เจาะลึกอย่างละเอียด ซึ่งเป็นอีกหนึ่งความภูมิใจ ที่ทีมงานของเราพร้อมที่จะนำเสนอให้กับท่านได้มีเก็บเอาไว้เพื่อใช้ในการศึกษา ของคุณต่อไปได้เป็นอย่างดี
เนื้อหาใน CD แผ่นที่ 1 1. เตรียมเครื่องและติดตั้งชุด Microsoft Office และการสร้างฐานข้อมูลใหม่
2. ความหมายของนามสกุล ldb และ mdb และการเปิดฐานข้อมูลแบบต่าง ๆ
3. การเปลี่ยนภาษาของเมนู และ Macro Security
4. ความหมายของ Objects ต่าง ๆ ใน Microsoft Access ได้แก่ Tables, Queries, Forms, Reports, Pages, Macro และ Modules
5. เปรียบเทียบ Access กับ Excel การสร้าง Table Categories และการสร้าง Primary Key
6. การใส่ Description ให้กับ Table และการป้อนข้อมูลใน Table และการไป Records ต่าง ๆ ของ Table
7. การกำหนด Layout ของ Tableในการเรียงลำดับ Fields ต่าง ๆ และการเรียงข้อมูลใน Table
8. หน้าจอส่วน Design และ View ของ Table และความหมายของ Caption และ Description ของ Fields
9. ความหมายในการสร้าง Primary Key และ Indexes แบบต่าง ๆ
10. วิธีกำหนดให้ DataSheet ที่เปิดอยู่ใน TaskBar ของ Windows
11. การตั้งชื่อ Field และกำหนด DefaultValue ให้กับฟิลด์ประเภทวันที่ (DateTime)
12. การกำหนดให้ Field ชื่อกลุ่มสินค้า จำเป็นต้องป้อนข้อมูล โดยกำหนด Required และ Allow Zero Length
13. การใช้ Table Wizard และสร้างตาราง Products
14. สร้าง Field CategoryID ใน Table Products เพื่อเชื่อมโยงกับ Table Category และการสร้าง Lookup ใน DataSheet
15. การกำหนดรายละเอียดของ Lookup Table และการใช้ Query Builder สำหรับ RowSource ของ Combo Box
16. การดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลหนึ่งมายังอีกฐานข้อมูลหนึ่ง โดยการ Import และการเปลี่ยนชื่อ Table
17. การสร้างและลบ Relationships ระหว่าง Table Categories2 และ Products2
18. สร้าง Relations อีกชุด และการ Add Tables ในส่วนของ Relationships และ DrillDown ใน Access
19. ความหมายของ Link Tables ซึ่งแตกต่างจากการ Import Tables
20. การใช้ Linked Table Manager เมื่อมีการแก้ไขชื่อ Database ต้นทาง หรือย้าย Directory
21. การแก้ไขโครงสร้างของ Linked Table ต้องแก้ที่ Table ของ Database ต้นทาง และสร้าง Table ใหม่
22. การใส่กฎเกณฑ์ให้กับ Field ที่ Validation Rule และ ValidateText
23. ปัญหาของ Field ประเภทวันที่ และการปรับเปลี่ยนที่ Regional Settings ที่ Control Panel
24. การกำหนด Format ของ Field ประเภทวันที่ และตัวเลขในแบบต่าง ๆ
25. รูปแบบของ Format ของตัวเลข, ข้อแตกต่างของ Format ประเภท # และ 0 และ Multiple Clipboard
26. การบังคับให้ใส่ตัวเลขเท่านั้น ที่ ZipCode โดยกำหนดที่ InputMask
27. การใส่ InputMask ของ MobilePhone และการใส่ Mask เพื่อให้ใส่ - ในฐานข้อมูลหรือไม่
28. สัญลักษณ์ต่าง ๆ ของ InputMask และ InputMask ของ Password ในกรณีที่ป้อนแล้วต้องการให้ขึ้น *
29. การกำหนด Format ให้มีสีสันต่างกัน และการปรับให้เป็นตัวอักษรตัวใหญ่ หรือตัวเล็กทั้งหมด
30. การ Copy Field, Copy Record ใน Access และคุณสมบัติของ AutoNumber Field
31. แก้ไขข้อมูล LookUp Table ของ Products2 ให้ถูกต้อง และการแก้ไข Table ในส่วนของ SQL View ของ Query Builder
32. การใส่ข้อมูลภาพลงใน Field OLE Object
33. สร้าง Field ประเภท Hyperlink ประโยชน์และการแก้ไข
34. รู้จักกับ Field ประเภท Memo และ Yes/No และการจัด Format ของ Field Yes/No เอง
35. การใช้ Field ประเภท Lookup Wizard
36. การใส่กฎให้กับระดับ Table ที่ Table Properties
37. การใช้ Order By และ Filter ในส่วนของ Table Properties และการ Apply Filter
เนื้อหาใน CD แผ่นที่ 2 1. เตรียมข้อมูลและจัดการ Link Tables จาก Databases อื่นมา เพื่อศึกษาเรื่อง Query
2. การใช้ Filter by Selection, Filter by Form และ Remove Filter เพื่อเลือกข้อมูลตัวเลขตามที่ต้องการ
3. การ Filter ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร (String) ตามชื่อสินค้า และการใช้ Like และสัญลักษณ์ต่าง ๆ
4. การ Freeze Column และ UnFreeze All Columns เพื่อ Lock บาง Columns ไว้ และการ Filter แบบหลายเงื่อนไข
5. การ Filter ข้อมูลที่ต้องสั่งซื้อสินค้า โดยเปรียบเทียบระหว่าง Fields และการอ้างชื่อ Field
6. การ Filter ข้อมูลประเภทวันที่ การใช้สัญลักษณ์ # และการใช้ Function Month และ Year
7. การสร้าง Query แบบเชื่อมโยง 2 Tables, ประโยชน์ของ Query ที่ดีกว่า Filter และ Inner Join
8. การเรียงข้อมูลแบบหลาย Fields ใน Query และศึกษาเกี่ยวกับ SQL Statement : Order by
9. การใส่เงื่อนไขใน Query แบบหลาย Fields และการใช้ AND, OR ใน Query Designer
10. Query ที่ตรวจสอบค่า Null ของ Field และความหมายของ Show ใน Query Designer
11. การทำ Query เพื่อตัดตัวอักษรแรก โดยใช้ฟังก์ชัน Left การใช้ Group By และ Count
12. การจัดอันดับ โดยใช้ Top 10 หรือ Top 10 Percent ซึ่งสามารถกำหนดเป็นตัวเลข หรือเปอร์เซนต์ได้
13. การหาตำแหน่งตัวอักษรที่ต้องการ โดยใช้ Instr และการนำ Query มาออกแบบ Query ซ้ำ เพื่อสลับ First Name และ Last Name
14. การเลือก Records โดยข้อมูลที่ซ้ำกัน จะเลือกมาแค่ 1 Record โดยใช้ Distinct หรือ Unique Value
15. การสรุปผลที่มีการ Group มากกว่า 1 Fields และรูปแบบ Group by ซึ่งต่างจาก Distinct
16. การสรุปผลในรูปแบบ CrossTab Query ตัวอย่างที่ 1 และเทคนิคในการเลือก Fields ในการทำ CrossTab
17. การ Export ข้อมูลจาก Query ที่สร้างขึ้นไปยัง Excel
18. การเชื่อมโยงข้อมูลไปที่ Table ตัวเดียวกัน และการใช้ Inner Join และ Outer Join
19. การใช้ DateDiff เพื่อหาอายุเมื่อเทียบกับวันเกิด โดยใช้ฟังก์ชันนี้ใน Query
20. การใช้ Chr(13) เพื่อต่อข้อมูลที่ต้องการขึ้นบรรทัดใหม่.
21. การทำ SubQuery โดยการเขียน SQL Statement ใน Criteria
22. ตัวอย่างการสร้าง Query แบบ Inner Join และสร้าง Field ที่เป็นการคำนวณระหว่าง Fields ขั้นที่ 1
23. Field Discount กับ Format ที่เป็น Percent และคำนวณยอดเงินก่อนลด และยอดเงินหลังลด
24. การปรับทศนิยมไม่รู้จบใน Query ให้เป็นจำนวนเงิน โดยใช้ CCur เพื่อปรับให้เป็นประเภท Currency.
25. สรุปยอดเงินตาม Order ID รวมถึงส่วนลด และยอดเงินในแต่ละ Order
26. การนำ Query มาสรุป CrossTab ยอดซื้อ แยกตามเดือน และลูกค้า
27. การใส่เงื่อนไขใน CrossTab Query เพื่อเลือกเฉพาะข้อมูลของปีที่ต้องการ และ Transform…Pivot…
28. หาข้อมูลลูกค้าที่ไม่ได้สั่งซื้อในปี 1994 และการใช้ IN และ Not In (แบบที่ 1)
29. การหาลูกค้าที่ไม่ได้สั่งซื้อในปี 1994 โดยใช้เทคนิค Left Join
30. การสร้าง Query แบบ Make Tables และประเภทของ Action Queries
31. การสร้าง Delete Query เพื่อลบข้อมูลตามเงื่อนไข.
32. การสร้าง Update Query เพื่อ Update ราคาสินค้าเพิ่มขึ้น 10%.
เนื้อหาใน CD แผ่นที่ 3 1. เตรียม Databases และเปลี่ยน Link Tables ก่อนการศึกษาเรื่อง Form ของ Access
2. เหตุผลในการสร้าง Form และเริ่มต้นสร้าง Form แรกโดยใช้ Wizard
3. ปรับเปลี่ยน Form ที่มาจาก Wizard และเรียนรู้ที่มาที่ไป และการเปลี่ยน Design
4. ส่วนของ Form Header และ Footer และใช้ Control ประเภท Label เปลี่ยนรูปแบบของ Label และ Associated Label
5. การเปลี่ยนตำแหน่ง Tab Order หรือลำดับ Field ที่ต้องการไป และ StatusBarText
6. การป้อนข้อมูลกับ Controls ต่าง ๆ ได้แก่ ComboBox และ CheckBox จะป้อนอย่างไรให้สะดวก
7. การกำหนดให้ Form สามารถแก้ไข หรือดูอย่างเดียว รวมถึงการอนุญาตให้เพิ่มข้อมูลหรือไม่ และรู้จักกับ Record Source, Control Source
8. การแสดงจำนวน Record ในส่วนของ Form Footer และเทคนิคการ Design อื่น ๆ
9. การคำนวณยอด Amount ของแต่ละ Record ซึ่งเกิดจากการคำนวณ 2 Fields และการใส่สูตร
10. การค้นข้อมูล และการใช้ Filter ใน Form และการไม่ให้ผู้ใช้ปรับเปลี่ยน Properties เอง
11. การสร้าง Combo Box เพื่อแสดงข้อมูลจาก Supplier และเทคนิคในการเลือก Field และการเลือก Bound Column
12. การสร้าง Form ขึ้นใช้เองแบบไม่ใช้ Wizard และการจัดการกับภาพในฐานข้อมูล และการจัดเรียง Controls ให้ตรงกัน
13. สร้าง Continuous Form ให้กับ Table Products2
14. การสร้าง Sub Forms โดยนำ Form หนึ่ง มาเป็นส่วนหนึ่งของอีก Form หนึ่ง และเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง Forms
15. การทำยอดสรุปใน Sub Form และเทคนิคในการเขียนสูตร
16. การนำข้อมูลปีของหนังสือมาแสดงใน ListBox หรือนำมาจาก Query และการกำหนด RowSource ของ ListBox
17. สร้าง SubForm TitleSub เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลกับ ListBox ที่เลือกรายการไว้
18. การหาจำนวนผู้แต่งของหนังสือแต่ละเล่ม เพื่อมาแสดงบน Form
19. การใช้ Radio ร่วมกับ Option Group และนำค่าไปเก็บใน Field
20. การใช้ Toggle Button ร่วมกับ Option Group
21. การใช้ Tab Control และการกำหนดคุณสมบัติต่าง ๆ ของ Tab
22. การสรุปข้อมูล เพื่อสร้างกราฟ โดยใช้ CrossTab Query
23. การแก้ปัญหากราฟที่ดึงข้อมูลมาให้ไม่ครบ ขาดไป 1 แถว. - การแก้ปัญหากราฟที่ดึงข้อมูลมาให้ไม่ครบ ขาดไป 1 แถว
25. การสร้าง Form SwitchBoard เพื่อให้สามารถ Click ไปฟอร์มต่าง ๆ ได้
26. การกำหนด Startup เพื่อให้เปิดฟอร์มที่ต้องการ เมื่อมีการเปิดฐานข้อมูล Access
|
จำนวนหนังสือ | 1 เล่ม |
เนื้อใน | พิมพ์ 4 สี |
รูปแบบปก | ปกอ่อน |
น้ำหนัก | 375.2000 |
หากเราจะพูดถึงเครื่องมือที่จะช่วยจัดการงานทางด้านฐานข้อมูลแล้ว ผู้เขียนเชื่อว่า Microsoft Access จะเป็นเครื่องมืออันดับต้นๆ ที่ผู้ใช้ระดับทั่วไปนึกถึง Microsoft Access จะช่วยให้คุณสามารถสร้างโปรแกรม ประยุกต์ และมีการติดตามที่สวยงาม สามารถใช้งานได้จริง มีความสะดวกเร็วในการใช้งาน โดยไม่จำเป็นต้อง มีความรู้เชิงลึกเกี่ยวกับฐานข้อมูล และนอกจากนั้นคุณยังสามารถเรียนรู้เพิ่มเริ่มต้นใช้งานได้อย่างรวดเร็ว คุณยังสามารถสร้าง และปรับโปรแกรมประยุกต์และรายงานให้เปลี่ยนไปตามความต้องการทางธุรกิจได้
สื่อการสอนชุด “Access 2003-2007 QuickStart Tutorials” ที่ทางบริษัทเอ็มไอเอส ซอฟท์เทค จำกัด ร่วมกับ อ.ธงชัย พยุงภร ผลิตออกมานี้ เหมาะ สำหรับผู้ใช้ทุกระดับ ตั้งแต่ระดับเบื้องต้นไปจนถึงระดับมืออาชีพ เนื่องจากมีเนื้อหาที่เจาะลึกอย่างละเอียด ซึ่งเป็นอีกหนึ่งความภูมิใจ ที่ทีมงานของเราพร้อมที่จะนำเสนอให้กับท่านได้มีเก็บเอาไว้เพื่อใช้ในการศึกษา ของคุณต่อไปได้เป็นอย่างดี
- จัดการกับ Tables และ Linked Tables เมื่อต้องการเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลอื่น
- Query ข้อมูลชั้นสูง เพื่อสรุปข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ และ CrossTab Query
- สร้าง Forms และ SubForm เพื่อทำหน้าจอ Input ข้อมูลอย่างละเอียด
- เทคนิคต่าง ๆ ในการทำ Report-SubReport และกราฟ
- เขียน Macro เพื่อทำงานอัตโนมัติภายใน Forms ต่าง ๆ
- รูปแบบที่แตกต่างออกไปใน Access 2007 เมื่อเทียบกับ Access 2003
เนื้อหาใน CD แผ่นที่ 1
1. เตรียมเครื่องและติดตั้งชุด Microsoft Office และการสร้างฐานข้อมูลใหม่
- จัดเตรียมเครื่อง
- ติดตั้งชุด Microsoft Access
- ผู้สอน อ.ธงชัย พยุงภร
- การสร้างฐานข้อมูลใหม่
- การนำไฟล์ตัวอย่างจาก CD-ROM ไปศึกษา และการกำหนดคุณสมบัติ (Properties)
2. ความหมายของนามสกุล ldb และ mdb และการเปิดฐานข้อมูลแบบต่าง ๆ
- ความหมายของนามสกุล ldb และ mdb ของ Microsoft Access
- การเปิดฐานข้อมูลแบบต่าง ๆ ได้แก่ Open, Open ReadOnly, Exclusive และ Exclusive Readonly
3. การเปลี่ยนภาษาของเมนู และ Macro Security
- ถ้าต้องการเปลี่ยนภาษาของเมนูให้เป็นภาษาไทย ต้องติดตั้ง Microsoft Office Language Pack ที่เป็นภาษาไทยก่อน
- คำเตือน และการแก้ไขของ Macro Security
4. ความหมายของ Objects ต่าง ๆ ใน Microsoft Access ได้แก่ Tables, Queries, Forms, Reports, Pages, Macro และ Modules
- ความหมายของ Objects ต่าง ๆ ใน Microsoft Access ได้แก่ Tables, Queries, Forms, Reports, Pages, Macro และ Modules
5. เปรียบเทียบ Access กับ Excel การสร้าง Table Categories และการสร้าง Primary Key
- เปรียบเทียบการเก็บฐานข้อมูลใน Access และ Excel
- การสร้าง Table ใหม่ชื่อ Categories
- ความหมายของ Field ประเภท Number : Byte, Integer, Long Integer และประเภท Text
- การสร้างและความหมายของ Primary Key
6. การใส่ Description ให้กับ Table และการป้อนข้อมูลใน Table และการไป Records ต่าง ๆ ของ Table
- การใส่ Description หรือคำอธิบายให้กับ Table
- การ View ในรูปแบบต่าง ๆ : Large Icons, Small Icons, List, Details
- การป้อนข้อมูลใน Table
- การเปลี่ยน Font ในการป้อนข้อมูล
- การไปยังเรคคอร์ดต่าง ๆ โดยใช้ Record Navigation
- การทดลองป้อนข้อมูลซ้ำ และคำเตือนหลังจากที่ได้กำหนด Primary Key ไว้แล้ว
7. การกำหนด Layout ของ Tableในการเรียงลำดับ Fields ต่าง ๆ และการเรียงข้อมูลใน Table
- การลาก Fields ไปยังตำแหน่งต่าง ๆ
- Access จะเก็บ Layout ในการเก็บลำดับ Field และความกว้างของแต่ละ Field ไว้
- การจัดเรียงข้อมูลตาม Field ที่ต้องการจากน้อยไปมาก และจากมากไปน้อย
8. หน้าจอส่วน Design และ View ของ Table และความหมายของ Caption และ Description ของ Fields
- Access จะจัดเก็บลำดับในการจัดเรียงครั้งสุดท้ายไว้เสมอ
- การเปลี่ยนหน้าจอไปยังหน้า Design และ View ของ Table
- การใส่ Description ของ Field จะปรากฎที่ Statusbar ของ Access
- ควรตั้งชื่อ Field ให้เป็นภาษาอังกฤษ และ Caption สามารถกำหนดเป็นภาษาไทยได้
9. ความหมายในการสร้าง Primary Key และ Indexes แบบต่าง ๆ
- การ switch หน้าจอแบบ Design View และ DataSheet View แบบต่าง ๆ
- การกำหนดให้ข้อมูลชื่อกลุ่มสินค้าไม่สามารถซ้ำได้
- วิธีเลือก field ในการสร้าง PrimaryKey
- การสร้าง Index แบบต่าง ๆ และเหตุผลในการสร้าง Index เมื่อต้องการค้นข้อมูล หรือ จัดเรียงข้อมูล
- ปุ่ม Indexes บน ToolBar
- ความหมายของ Properties ของ Indexes
- ตรวจสอบข้อมูลที่ซ้ำว่าไม่สามารถป้อนได้ เมื่อมีการสร้าง Index แบบ No Duplicate
10. วิธีกำหนดให้ DataSheet ที่เปิดอยู่ใน TaskBar ของ Windows
- การกำหนดให้ DataSheet ที่เปิดอยู่ใน TaskBar ของ Windows หรือไม่
- การ switch ระหว่างหน้าจอ Database และ DataSheet View
11. การตั้งชื่อ Field และกำหนด DefaultValue ให้กับฟิลด์ประเภทวันที่ (DateTime)
- การกำหนด Default Value ให้กับ Field
- Access สามารถตั้งชื่อ Field ที่มีเว้นวรรคได้
- ความหมายของ Field ประเภท DateTime, Number และ Text
- การใช้ Now() เพื่อใส่วันที่และเวลาปัจจุบัน
- การ Copy และ Paste ในกรณีที่ต้องการ Copy ข้อมูลจาก Record หนึ่งไปยังอีก Record หนึ่ง
12. การกำหนดให้ Field ชื่อกลุ่มสินค้า จำเป็นต้องป้อนข้อมูล โดยกำหนด Required และ Allow Zero Length
- การกำหนดให้บาง field จำเป็นต้องป้อนข้อมูล
- ความหมายของ Required
- ความหมายของ Allow Zero Length
- การ switch ค่าระหว่าง Yes และ No โดยการ Double Click
13. การใช้ Table Wizard และสร้างตาราง Products
- การใช้ Table Wizard
- ออกแบบ Table Products และความหมายของ Field ที่สร้าง
- กำหนด Properties ต่าง ๆ ของ Fields และ Indexes
14. สร้าง Field CategoryID ใน Table Products เพื่อเชื่อมโยงกับ Table Category และการสร้าง Lookup ใน DataSheet
- สร้าง Field CategoryID ใน Table Products เพื่อเชื่อมโยงกับ Table Categories ใน Table Categories
- การสร้าง Lookup ให้เป็น Combo Box ใน Field ของ CategoryID ของ Table Products
- การกำหนด Property ของ ComboBox : ColumnWidths, ListWidth, BoundColumn, ColumnCount
15. การกำหนดรายละเอียดของ Lookup Table และการใช้ Query Builder สำหรับ RowSource ของ Combo Box
- ความหมายของ Limit to List
- การกำหนด Row Source และการใช้ Query Builder เพื่อให้เรียงข้อมูลตามที่ต้องการ
- เปลี่ยน BoundColumn และ ColumnWidths เพื่อกำหนด BoundColumn ให้ถูกต้อง
- ความหมายของ List Rows ของ ComboBox
16. การดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลหนึ่งมายังอีกฐานข้อมูลหนึ่ง โดยการ Import และการเปลี่ยนชื่อ Table
- การ Import Table จากฐานข้อมูลหนึ่งมายังอีกฐานข้อมูลหนึ่ง
- การเปลี่ยนชื่อ Table
17. การสร้างและลบ Relationships ระหว่าง Table Categories2 และ Products2
- การสร้างและการลบ Relationships ระหว่าง Tables
- การลาก field เพื่อสร้าง Relation ระหว่าง Tables
18. สร้าง Relations อีกชุด และการ Add Tables ในส่วนของ Relationships และ DrillDown ใน Access
- สร้างความสัมพันธ์ระหว่าง Tables อีกชุด
- ประโยชน์ของการสร้าง Relations
- Drill Down ของ Datasheet ใน Access
19. ความหมายของ Link Tables ซึ่งแตกต่างจากการ Import Tables
- ความหมายของ Link Tables
- ข้อแตกต่างจากการ Import Tables
- ข้อดีของ Link Tables ที่ดีกว่า Import Tables
20. การใช้ Linked Table Manager เมื่อมีการแก้ไขชื่อ Database ต้นทาง หรือย้าย Directory
- การเปลี่ยน Path ของ Database ของ Linked Table
- การใช้ Linked Table Manager
21. การแก้ไขโครงสร้างของ Linked Table ต้องแก้ที่ Table ของ Database ต้นทาง และสร้าง Table ใหม่
- Linked Table ไม่สามารถแก้ไขได้ จะแก้ไขต้องแก้ไขที่ Table ของ Database ต้นทาง
- สร้าง Table Employee
- สร้าง Field ประเภท AutoNumber ซึ่งเป็น Long Integer
- Default Value ที่เป็น Date() ให้เก็บวันที่เท่านั้น ไม่ต้องเก็บเวลา
- เหตุผลในกรณีที่เลือก Field ของ ZipCode เป็นประเภท Text
22. การใส่กฎเกณฑ์ให้กับ Field ที่ Validation Rule และ ValidateText
- การใส่กฎเกณฑ์ของ Field ที่ Validation Rule และ ValidationText ของ Field
- การใส่กฎให้วันที่ว่าจ้างต้องมากกว่าวันที่ 1 มกราคม 2000
- การใส่กฎให้กับราคาทุนของสินค้าต้องมากกว่าหรือเท่ากับ 0 บาท
- การออกแบบ Field สำหรับ Field VAT ว่าควรเลือก Field ประเภทไหน
23. ปัญหาของ Field ประเภทวันที่ และการปรับเปลี่ยนที่ Regional Settings ที่ Control Panel
- ระวังการป้อนข้อมูลประเภทวันที่
- กำหนด Format ของวันที่และ Currency ใน Regional Setting
- ตรวจสอบ Validation ที่ได้ทำไว้แล้วของ Field ประเภทวันที่
- กำหนด Format และรูปแบบ Format ของวันที่ใน Regional Setting
- การกำหนดปีเป็นพุทธศักราช และคริสตศักราช
24. การกำหนด Format ของ Field ประเภทวันที่ และตัวเลขในแบบต่าง ๆ
- ปรับระบบ Regional Setting ให้เป็นภาษาอังกฤษ ให้กลับสู่สภาพเดิม และปรับ Currency ให้เป็น ฿ เหมือนเดิม
- Format ของข้อมูลประเภทวันที่ และความหมายของ ddd, dddd, mmm, mmmm
- Format ของข้อมูลประเภทตัวเลข ให้มี comma คั่นที่หลักพันและหลักล้าน
- Format ย่อยของตัวเลข ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ บวก;ลบ;ศูนย์;Null
25. รูปแบบของ Format ของตัวเลข, ข้อแตกต่างของ Format ประเภท # และ 0 และ Multiple Clipboard
- รูปแบบ Format ของตัวเลข
- การใช้ Multiple Clipboard
- ข้อแตกต่างระหว่าง Format ของ # และ 0 ถ้าใช้ # หมายถึง ไม่แสดง 0 ถ้าข้างหน้าเป็น 0 หรือ ข้างหลังเป็น 0 หมด
- ถ้าใช้ 0 บังคับแสดง 0 ทุกตำแหน่งที่ระบุ
26. การบังคับให้ใส่ตัวเลขเท่านั้น ที่ ZipCode โดยกำหนดที่ InputMask
- การสร้าง InputMask ของ ZipCode
- รูปแบบและโครงสร้างของ InputMask
- สัญลักษณ์ของตัวอักษร เมื่อไม่ได้ป้อนข้อมูล
- ความหมายของตัวเลข 0 ใน InputMask หมายถึงให้พิมพ์ตัวเลขได้เท่านั้น ห้ามป้อนตัวอักษร และห้ามป้อนเว้นวรรค
27. การใส่ InputMask ของ MobilePhone และการใส่ Mask เพื่อให้ใส่ - ในฐานข้อมูลหรือไม่
- การใช้ InputMask กับ Field MobilePhone
- การใส่ - ในฐานข้อมูลหรือไม่ เมื่อมีการใช้ Mask
28. สัญลักษณ์ต่าง ๆ ของ InputMask และ InputMask ของ Password ในกรณีที่ป้อนแล้วต้องการให้ขึ้น *
- ส่วนต่าง ๆ ที่สำคัญและความหมายของ InputMask
- สัญลักษณ์ของ InputMask ต่าง เช่น 0, 9, #, a, A, L,? เป็นต้น
- การรับข้อมูลที่เป็น Password เมื่อมีการป้อนข้อมูลให้ขึ้นสัญลักษณ์ *
29. การกำหนด Format ให้มีสีสันต่างกัน และการปรับให้เป็นตัวอักษรตัวใหญ่ หรือตัวเล็กทั้งหมด
- การกำหนด Format ให้มีสีสันต่าง ๆ เช่น ถ้าเป็นบวกให้เป็นสีน้ำเงิน ถ้าติดลบให้เป็นสีแดง
- การปรับตัวอักษรให้เป็นตัวใหญ่ทั้งหมด หรือตัวเล็กทั้งหมด
30. การ Copy Field, Copy Record ใน Access และคุณสมบัติของ AutoNumber Field
- การ Copy Field ให้เหมือนเรคคอร์ดก่อนหน้า โดยการกด Ctrl คู่กับ Single Quote
- การ Copy Record
- คุณสมบัติของ AutoNumber Field ที่ไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้
31. แก้ไขข้อมูล LookUp Table ของ Products2 ให้ถูกต้อง และการแก้ไข Table ในส่วนของ SQL View ของ Query Builder
- การปรับ Lookup Table ของ Products2 ซึ่งเป็น Table ที่ Imported เข้ามาให้ถูกต้อง
- SQL View ของ Query Builder
- โครงสร้างของ SQL Statement และการเปลี่ยนชื่อ Table ใน SQL View
32. การใส่ข้อมูลภาพลงใน Field OLE Object
- Field ข้อมูลประเภท OleObject
- การใส่ข้อมูลภาพใน Field ประเภท OLE Object
- การแก้ไขภาพที่ใส่ไว้ในฐานข้อมูลอยู่แล้ว
- การใส่ภาพแบบ Link และ Embed
33. สร้าง Field ประเภท Hyperlink ประโยชน์และการแก้ไข
- สร้าง Field ประเภท Hyperlink
- การแก้ไข Field ประเภท Hyperlink ทำได้ 2 วิธี
- ประโยชน์ของ Field Hyperlink
- โครงสร้างการเก็บข้อมูลของ Field Hyperlink
34. รู้จักกับ Field ประเภท Memo และ Yes/No และการจัด Format ของ Field Yes/No เอง
- สร้าง Field ประเภท Memo สำหรับในกรณีที่มีข้อมูลมาก ๆ มากกว่า 255 ตัว
- ข้อจำกัดของ Memo
- การขึ้นบรรทัดใหม่ใน Memo ให้กด Ctrl + Enter
- สร้าง Field ประเภท Yes/No หรือ Boolean
- การจัด Format ประเภท Boolean เอง ให้เป็นใช่/ไม่ และใส่สีให้แตกต่างกัน
- ข้อมูลจริง ๆ ที่เก็บของ Field Yes/No จะเป็น -1 และ 0
- การทำให้ Field Yes/No ไม่ใช่ CheckBox
35. การใช้ Field ประเภท Lookup Wizard
- การใช้ Field ประเภท Lookup Wizard
- การกำหนดค่าให้ผู้ใช้เลือก
- คล้ายกับ Lookup ก่อนหน้าที่ได้สร้างไว้แล้ว
36. การใส่กฎให้กับระดับ Table ที่ Table Properties
- รู้จักกับ Table Properties
- การใส่กฎระดับ Table เมื่อต้องการเปรียบเทียบระหว่าง Fields โดยใส่ ValidataionRule และ ValidationText ระดับ Table
- การตรวจสอบกฎจะตรวจสอบเมื่อเราจะเปลี่ยนเรคคอร์ด
- ข้อควรระวังก่อนการใส่กฎ ต้องตรวจสอบข้อมูลให้ถูกต้องเสียก่อน
37. การใช้ Order By และ Filter ในส่วนของ Table Properties และการ Apply Filter
- การใช้ Order By ในส่วนของ Table Properties
- ใช้ desc เพื่อกำหนดให้เรียงจากมากไปน้อย
- การใส่ Filter เพื่อดึงข้อมูลบางส่วน และการใช้ Apply Filter และ Remove Filter
- สรุปเกี่ยวกับ CD-ROM แผ่นนี้ซึ่งเน้นเกี่ยวกับการออกแบบ Table และรู้จักกับ Field และคุณสมบัติของ Field แบบต่าง ๆ
เนื้อหาใน CD แผ่นที่ 2
1. เตรียมข้อมูลและจัดการ Link Tables จาก Databases อื่นมา เพื่อศึกษาเรื่อง Query
- สร้าง Link Tables จากหลาย ๆ Databases มาที่ Databases ตัวเดียวกัน
- เตรียมข้อมูลและไฟล์เพื่อศึกษาเรื่อง Query
2. การใช้ Filter by Selection, Filter by Form และ Remove Filter เพื่อเลือกข้อมูลตัวเลขตามที่ต้องการ
- การใช้ Filter by Selection, Filter by Form และ Remove Filter
- การใช้ Filter Excluding Selection
- ข้อมูลการ Filter จะเก็บอยู่ในส่วนของ Table Properties
- การ Filter ข้อมูลส่วนที่เป็นตัวเลข และการใช้ between…and…
3. การ Filter ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร (String) ตามชื่อสินค้า และการใช้ Like และสัญลักษณ์ต่าง ๆ
- การ Filter ข้อมูลที่เป็น string ต้องคลุมด้วย single quote หรือ double quote
- การใช้ Like และการใช้ *, ! และวงเล็บก้ามปู เพื่อ Filter ข้อมูลที่ต้องการ
- การ Filter ข้อมูลตัวแรกที่เป็นช่วงของ string
- ตัวอักษรตัวใหญ่ ตัวเล็กเหมือนกัน
4. การ Freeze Column และ UnFreeze All Columns เพื่อ Lock บาง Columns ไว้ และการ Filter แบบหลายเงื่อนไข
- การ Freeze Columns เพื่อ Lock บาง Columns ไว้
- การยกเลิกการ Freeze Columns
- การ Filter แบบหลายเงื่อนไขพร้อมกัน
5. การ Filter ข้อมูลที่ต้องสั่งซื้อสินค้า โดยเปรียบเทียบระหว่าง Fields และการอ้างชื่อ Field
- การ Filter โดยการเปรียบเทียบระหว่าง Fields
- สัญลักษณ์ในการอ้างชื่อ Field ให้ใช้วงเล็บก้ามปูคลุม
- ดึงข้อมูลสินค้าที่มีจำนวนสินค้าน้อยกว่า Minimum Stock
6. การ Filter ข้อมูลประเภทวันที่ การใช้สัญลักษณ์ # และการใช้ Function Month และ Year
- การ Filter ข้อมูลประเภทวันที่
- การอ้างถึงวันที่ให้คลุมด้วยเครื่องหมาย #
- การ Filter ช่วงวันที่
- การใช้ Function Month และ Year กับ Field ประเภทวันที่
7. การสร้าง Query แบบเชื่อมโยง 2 Tables, ประโยชน์ของ Query ที่ดีกว่า Filter และ Inner Join
- การสร้าง Query แบบเชื่อมโยง 2 Tables
- ประโยชน์ของ Query และสิ่งที่ดีกว่า Filter
- ศึกษา SQL Statement แบบ Inner Join
- การ switch ไปยังหน้าจอต่าง ๆ ของ Query : SQL View, DataSheet View และ Design View
8. การเรียงข้อมูลแบบหลาย Fields ใน Query และศึกษาเกี่ยวกับ SQL Statement : Order by
- การเรียงข้อมูลแบบหลาย ๆ Fields ใน Query
- ศึกษาคำสั่ง Order by และการเรียงจากมากไปน้อย และจากน้อยไปมาก โดยใช้ desc
- Field ที่ไม่สามารถจัดเรียงได้ ได้แก่ Memo, HyperLink และ OleObject ห้าม Sort
9. การใส่เงื่อนไขใน Query แบบหลาย Fields และการใช้ AND, OR ใน Query Designer
- การใส่เงื่อนไขหลาย ๆ ตัวใน Query Designer โดยใส่ที่ Criteria และ OR ว่าต้องเลือกใส่อย่างไร
- SQL Statement แบบใช้ Where และการใช้ And, OR และวงเล็บใน SQL Statement
- ลำดับของ SQL Statement คือ Select … From …Where…Order by
10. Query ที่ตรวจสอบค่า Null ของ Field และความหมายของ Show ใน Query Designer
- การตรวจสอบค่า Null โดยใช้ Is Null
- การตรวจสอบค่าที่ไม่ใช่ Null โดยใช้ Not Is Null
- ความหมายของ Show Check Box ใน Query Designer
11. การทำ Query เพื่อตัดตัวอักษรแรก โดยใช้ฟังก์ชัน Left การใช้ Group By และ Count
- การใช้ Left เพื่อตัดตัวอักษรแรก
- การตั้งชื่อฟิลด์ใหม่ที่สร้างขึ้นใน Access โดยใช้สัญลักษณ์ : ส่วน SQL Statement จะใช้ as
- การใช้ Group By เพื่อจัด Group ข้อมูล
- การเพิ่มบรรทัด Total ใน Query Designer
- การใช้ Group by ร่วมกับ Count
- การ Count ต้องระวังไม่นับ Field ที่เป็น Null
12. การจัดอันดับ โดยใช้ Top 10 หรือ Top 10 Percent ซึ่งสามารถกำหนดเป็นตัวเลข หรือเปอร์เซนต์ได้
- เลือกข้อมูล 10 อันดับแรก หรือ Top 10
- เลือกข้อมูล 10% ของ Record ทั้งหมด โดยใช้ Select Top 10 Percent …
- ศึกษา SQL Statement เกี่ยวกับ Select Top …
13. การหาตำแหน่งตัวอักษรที่ต้องการ โดยใช้ Instr และการนำ Query มาออกแบบ Query ซ้ำ เพื่อสลับ First Name และ Last Name
- การหาตำแหน่ง comma ว่าอยู่ที่ตำแหน่งตัวอักษรที่เท่าไร โดยใช้ Instr
- การนำ Query มาทำเป็น Query ใหม่ ซึ่งไม่จำเป็นต้องดึงจาก Table เสมอไป
- การตัดตัวอักษรโดยใช้ Mid และ Left
- แยกข้อมูลชื่อและนามสกุลที่เป็น Field เดียวกัน ให้แยกเป็นคนละ Field
14. การเลือก Records โดยข้อมูลที่ซ้ำกัน จะเลือกมาแค่ 1 Record โดยใช้ Distinct หรือ Unique Value
- การเลือก Record ที่ซ้ำกันมาแค่ 1 Record โดยไม่ได้ใช้ Group by แต่ใช้ Unique Value
- SQL Statement ที่ใช้คือ Unique Value
15. การสรุปผลที่มีการ Group มากกว่า 1 Fields และรูปแบบ Group by ซึ่งต่างจาก Distinct
- การสรุปผล Group by มากกว่า 1 Fields
- ข้อแตกต่างระหว่าง Group by กับ Distinct ตรง Distinct จะไม่สามารถสรุปการนับได้
16. การสรุปผลในรูปแบบ CrossTab Query ตัวอย่างที่ 1 และเทคนิคในการเลือก Fields ในการทำ CrossTab
- การสร้าง CrossTab Query ตัวอย่างที่ 1
- การกำหนด Field ให้เป็น Row Heading, Column Heading และ Value ร่วมกับการใช้ Group by และ Count
- CrossTab เป็นการนำค่าที่อยู่ใน Record มาแตกเป็น Heading ของ Field ใหม่
17. การ Export ข้อมูลจาก Query ที่สร้างขึ้นไปยัง Excel
- การ Export ข้อมูลที่สรุปผลจาก Query ไปเป็น Excel
- สำหรับผู้ที่ใช้ Excel ก็จะมีประโยชน์ในการนำไปตกแต่ง ก่อนที่จะพิมพ์ได้
18. การเชื่อมโยงข้อมูลไปที่ Table ตัวเดียวกัน และการใช้ Inner Join และ Outer Join
- การเชื่อมโยงข้อมูลไปที่ Table ตัวเดียวกัน
- การอ้าง Fields จำเป็นต้องระบุชื่อ Table เพราะมี Fields เหมือนกัน
- การดึงข้อมูลจากด้านหนึ่งทั้งหมด โดยใช้ Outer Join : Left Join หรือ Right Join เปรียบเทียบกับ Inner Join
- การเชื่อม String โดยใช้เครื่องหมาย & และข้อดีกว่าการใช้เครื่องหมาย +
19. การใช้ DateDiff เพื่อหาอายุเมื่อเทียบกับวันเกิด โดยใช้ฟังก์ชันนี้ใน Query
- การคำนวณอายุจากวันเกิดโดยใช้ DateDiff
- การคำนวณอายุการทำงานจากวันที่เข้างาน
- การใช้ Help ของ Access เพื่อดูรายละเอียดเกี่ยวกับฟังก์ชัน DateDiff
- การคำนวณผลต่างเป็น ปี เป็นเดือน และเป็นวัน
20. การใช้ Chr(13) เพื่อต่อข้อมูลที่ต้องการขึ้นบรรทัดใหม่.
- การใช้ Chr(13) เพื่อต่อข้อมูลที่ต้องการขึ้นบรรทัดใหม่
21. การทำ SubQuery โดยการเขียน SQL Statement ใน Criteria
- การทำ SubQuery
- การเขียน SQL Statement ในส่วนของ Criteria ใน Query Designer
22. ตัวอย่างการสร้าง Query แบบ Inner Join และสร้าง Field ที่เป็นการคำนวณระหว่าง Fields ขั้นที่ 1
- การปรับเปลี่ยน Properties ใน Linked Tables สามารถทำได้กับบางคุณสมบัติ แต่ไม่สามารถทำได้กับการเปลี่ยนโครงสร้าง Field
- เรียงลำดับ Fields ที่ต้องการ Sort ก่อนหลัง เมื่อมีการ Sort มากกว่า 1 Fields
- สร้าง Field คำนวณยอดเงิน
- เชื่อมข้อมูลระหว่าง Order Details กับ Products
23. Field Discount กับ Format ที่เป็น Percent และคำนวณยอดเงินก่อนลด และยอดเงินหลังลด
- รูปแบบ Format Percent ใน Field ส่วนลด
- การ Zoom ข้อมูลที่พิมพ์ยาว ๆ ใน Query Designer โดยการกด Shift+F2
- คำนวณยอดเงินก่อนหักส่วนลด
- คำนวณส่วนลด
- คำนวณยอดเงินหลังหักส่วนลด
24. การปรับทศนิยมไม่รู้จบใน Query ให้เป็นจำนวนเงิน โดยใช้ CCur เพื่อปรับให้เป็นประเภท Currency.
- การใช้ฟังก์ชัน CCur เพื่อปรับทศนิยมไม่รู้จบ ให้เป็นประเภท Currency
25. สรุปยอดเงินตาม Order ID รวมถึงส่วนลด และยอดเงินในแต่ละ Order
- ความสัมพันธ์ระหว่าง Orders และ Order Details
- สรุปยอดเงิน และส่วนลดในแต่ละ Order ID
- ใช้เทคนิค Group by และ Sum เพื่อสรุปยอดตาม Order ID
- ดึงความสัมพันธ์ของ Table Orders เพื่อแสดงผลวันที่สั่ง และวันที่จัดส่งสินค้า
26. การนำ Query มาสรุป CrossTab ยอดซื้อ แยกตามเดือน และลูกค้า
- สรุปข้อมูลยอดซื้อ แยกตามเดือน และลูกค้าในลักษณะ CrossTab Query
- การใช้ Format เพื่อเปลี่ยนให้เป็นชื่อเดือน
27. การใส่เงื่อนไขใน CrossTab Query เพื่อเลือกเฉพาะข้อมูลของปีที่ต้องการ และ Transform…Pivot…
- การใส่เงื่อนไขใน CrossTab Query เพื่อเลือกข้อมูลเฉพาะปีที่ต้องการ
- รูปแบบ SQL Statement ซึ่งเป็นแบบ Transform…Pivot
28. หาข้อมูลลูกค้าที่ไม่ได้สั่งซื้อในปี 1994 และการใช้ IN และ Not In (แบบที่ 1)
- การหาข้อมูลลูกค้าที่ไม่ได้สั่งซื้อในปี 1994
- การใช้ IN และ Not IN
29. การหาลูกค้าที่ไม่ได้สั่งซื้อในปี 1994 โดยใช้เทคนิค Left Join
- ใช้เทคนิค Left Join ในการหารายชื่อลูกค้าที่ไม่มีการสั่งซื้อในปี 1994
- การสร้าง Left Join ระหว่าง Table กับ Query
30. การสร้าง Query แบบ Make Tables และประเภทของ Action Queries
- ประเภทของ Action Queries
- การสร้าง Query แบบ Make Tables
31. การสร้าง Delete Query เพื่อลบข้อมูลตามเงื่อนไข.
- การสร้าง Delete Query เพื่อลบข้อมูลออกจาก Table ตามเงื่อนไข
32. การสร้าง Update Query เพื่อ Update ราคาสินค้าเพิ่มขึ้น 10%.
- การสร้าง Update Query เพื่อ Update ราคาสินค้าเพิ่มขึ้น 10%
เนื้อหาใน CD แผ่นที่ 3
1. เตรียม Databases และเปลี่ยน Link Tables ก่อนการศึกษาเรื่อง Form ของ Access
- เตรียม Databases และเปลี่ยน Link Tables ก่อนการศึกษาเรื่อง Form ของ Access
- เปลี่ยน Link Tables ตาม Path ของ Databases โดยใช้ Link Tables Manager
2. เหตุผลในการสร้าง Form และเริ่มต้นสร้าง Form แรกโดยใช้ Wizard
- ประโยชน์ของ Form เมื่อเทียบกับ DataSheet
- ใช้ Wizard ในการสร้างฟอร์ม โดยเลือก Table เลือก Fields และสีสันต่าง ๆ กับ Table Products2
- ToolBox และ FieldList เพื่อช่วยในการออกแบบ Form
3. ปรับเปลี่ยน Form ที่มาจาก Wizard และเรียนรู้ที่มาที่ไป และการเปลี่ยน Design
- การขยาย Field โดยใช้ Mouse และใช้ลูกศร
- รูปแบบ ComboBox ที่สร้างให้อัตโนมัติ จากการออกแบบ Table แบบ Lookup
- การเลือก Controls หลาย ๆ ตัว ใช้ Shift+Click หรือเอา Mouse ลากเลือก Controls ที่ต้องการเพื่อเปลี่ยน Font
- เอา Mouse ลากที่มุมบนซ้าย เพื่อแยกเลื่อน Control ที่จับคู่กัน
- การขยาย Control โดยใช้ Mouse ลาก หรือกด Shift และลูกศร
4. ส่วนของ Form Header และ Footer และใช้ Control ประเภท Label เปลี่ยนรูปแบบของ Label และ Associated Label
- ปรับส่วน Form Header และ Form Footer
- การไปยัง Record ต่าง ๆ โดยใช้ Record Navigator หรือ PageUp, PageDown
- การใช้ Label Control และการปรับเปลี่ยนรูปแบบ เปลี่ยน Font เปลี่ยนสีตัวอักษร และเปลี่ยนสีพื้นเป็น Transparent หรือสีอื่นๆ
- การจัดการกับ Associated Label และเหตุผลในการสร้าง Associated Label
5. การเปลี่ยนตำแหน่ง Tab Order หรือลำดับ Field ที่ต้องการไป และ StatusBarText
- แทรก Field Supplier ID ในตำแหน่งที่ต้องการ
- การเปลี่ยนตำแหน่ง Tab Order
- เลือก Font ต้องระวัง ควรเลือก Font ที่มีอยู่แล้วในเครื่องทั่วไป
- ให้ขึ้นข้อความช่วยเหลือที่ StatusBar โดยกำหนดที่ StatusBarText
- การ Double Click ที่จุด จะช่วยขยายขนาด Control ให้อัตโนมัติ
- การกำหนดคุณสมบัติที่ Properties Window
6. การป้อนข้อมูลกับ Controls ต่าง ๆ ได้แก่ ComboBox และ CheckBox จะป้อนอย่างไรให้สะดวก
- การไปยัง Record แรกให้กด Ctrl+Home ส่วนการไปยัง Record สุดท้ายให้กด Ctrl+End
- การป้อนข้อมูลในส่วนของ Combo Box และกด F4 เพื่อให้ขึ้นรายการเลือก
- การจัดการข้อมูลที่เป็น CheckBox สามารถใช้ Mouse Click หรือ Space Bar เพื่อเปลี่ยนเป็น Yes หรือ No
7. การกำหนดให้ Form สามารถแก้ไข หรือดูอย่างเดียว รวมถึงการอนุญาตให้เพิ่มข้อมูลหรือไม่ และรู้จักกับ Record Source, Control Source
- Form จะมี Record Source เพื่อกำหนด Table ที่ต้องการดึงข้อมูลมา
- การกำหนดให้ Form สามารถเพิ่มข้อมูลได้หรือไม่ แก้ไขได้หรือไม่ที่ Properties ของ Form
- การกำหนด Control Source ให้กับ Control เพื่อให้ดึงหรือเก็บข้อมูลลงใน Field ที่ต้องการ
- การปรับ Format จะไม่กระเทือนถึง Table ที่ออกแบบไว้แล้ว
- การกำหนด Record Selectors, ScrollBars และ Navigation Buttons
8. การแสดงจำนวน Record ในส่วนของ Form Footer และเทคนิคการ Design อื่น ๆ
- การเลือก Controls หลาย ๆ ตัวพร้อมกัน และการเลือกโดยไปที่เมนู Edit แล้วเลือก Select All
- การยกเลิก Dividing Lines เพื่อไม่ให้มีเส้นแบ่ง
- การแสดงจำนวน Records ที่ Form Footer
- การลาก Control แต่ละตัวแยกกัน
- การ Double Click ที่จุด Handle เพื่อปรับขนาดความสูงของ Control ตามขนาด Font
- การแสดงจำนวน Record ในส่วนของ Form Footer
9. การคำนวณยอด Amount ของแต่ละ Record ซึ่งเกิดจากการคำนวณ 2 Fields และการใส่สูตร
- การ Copy ให้กด Ctrl+C และการ Paste ให้กด Ctrl+V
- การใส่สูตรในการคำนวณระหว่าง 2 Fields
- เมื่อมีการแก้ไขข้อมูล Field ใด Field หนึ่ง Field ที่คำนวณของคำนวณใหม่ให้อัตโนมัติ
10. การค้นข้อมูล และการใช้ Filter ใน Form และการไม่ให้ผู้ใช้ปรับเปลี่ยน Properties เอง
- การค้นข้อมูล โดยค้นจากส่วนเริ่มต้นของ Field หรือส่วนใด ๆ ของ Field
- การใช้ Filter ใน Form กับการ Apply Filter และ Remove Filter
- การ Lock ไม่ให้ผู้ใช้ปรับเปลี่ยน Properties เอง
11. การสร้าง Combo Box เพื่อแสดงข้อมูลจาก Supplier และเทคนิคในการเลือก Field และการเลือก Bound Column
- การสร้าง Combo Box เพื่อดึงข้อมูลจาก Suppliers
- เทคนิคในการเลือก Fields สำหรับ Columns ต่าง ๆ
- การกำหนดความกว้างของแต่ละ Column สำหรับใน Combo Box
- ปรับ Bound Column และกำหนด Properties อื่น ๆ ของ Combo Box
12. การสร้าง Form ขึ้นใช้เองแบบไม่ใช้ Wizard และการจัดการกับภาพในฐานข้อมูล และการจัดเรียง Controls ให้ตรงกัน
- การสร้าง Form Categories ขึ้นใช้เอง โดยไม่พึ่ง Wizard
- การจัดการกับภาพที่เก็บในฐานข้อมูล ว่าจะแทรกภาพหรือเปลี่ยนภาพได้อย่างไร
- การทำให้ขนาด Controls เท่ากัน
- การทำให้ Controls เรียงตรงกัน
- การปรับขนาดภาพให้มีขนาดเท่ากรอบที่กำหนดไว้ โดยกำหนดที่ Size Mode
13. สร้าง Continuous Form ให้กับ Table Products2
- การสร้าง Continuous Form ให้กับ Table Products2
- แยกส่วน Label ออกจาก TextBox โดยการ Cut แล้ว Paste ในส่วนของ Form Header
- การจัดหน้าจอให้สวยงามสำหรับ Continuous Form
- ดึง Fields ต่าง ๆ และสร้าง Fields คำนวณใน Continuous Form
14. การสร้าง Sub Forms โดยนำ Form หนึ่ง มาเป็นส่วนหนึ่งของอีก Form หนึ่ง และเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง Forms
- การสร้าง Sub Form และเทคนิคการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง Form หลักกับ Form ย่อย
- การกำหนด Source Object, Link Master Field และ Link Child Field
- การกำหนดให้ Sub Form มาจาก Table หรือ Query
15. การทำยอดสรุปใน Sub Form และเทคนิคในการเขียนสูตร
- การทำยอดสรุปใน Sub Form
- การนับจำนวน Record ใน Sub Form
- การหาจำนวนรวมสินค้าในแต่ละกลุ่ม
- การหายอดคงคลังในแต่ละกลุ่ม
16. การนำข้อมูลปีของหนังสือมาแสดงใน ListBox หรือนำมาจาก Query และการกำหนด RowSource ของ ListBox
- สร้าง Form เปล่าโดยไม่ได้เชื่อมกับ Tables
- การนำ SQL Statement มาใส่ใน Row Source ของ ListBox
- นำข้อมูลปีที่ไม่ซ้ำกัน มาแสดงใน ListBox
17. สร้าง SubForm TitleSub เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลกับ ListBox ที่เลือกรายการไว้
- การเชื่อมโยงระหว่าง Control กับ Sub Form
- การเชื่อมโยงในส่วนของ Link Master Field สามารถเป็น Control ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นชื่อ Field
18. การหาจำนวนผู้แต่งของหนังสือแต่ละเล่ม เพื่อมาแสดงบน Form
- ปรับเปลี่ยนข้อมูลจากที่ Design ไว้แล้ว เพื่อดึงข้อมูลตาม Query ที่ต้องการ
- หาจำนวนผู้แต่งของหนังสือแต่ละเล่ม
- เลือก Fields ที่ต้องการ รวมถึง Link Child Fields ด้วย
19. การใช้ Radio ร่วมกับ Option Group และนำค่าไปเก็บใน Field
- การออกแบบ Field เพื่อใช้กับ Radio และ Option Group
- การกำหนดค่าให้เก็บใน Field ให้กำหนดที่ ControlSource ของ Option Group
20. การใช้ Toggle Button ร่วมกับ Option Group
- การใช้ Toggle Button ร่วมกับ Option Group
- การกำหนดค่าให้เก็บลง Field
21. การใช้ Tab Control และการกำหนดคุณสมบัติต่าง ๆ ของ Tab
- การใช้ Tab Control
- การเพิ่ม Page ใน Tab Control และการลบออก
- การปรับรูปแบบ Tab
- การแทรก Control เข้าไปใน Tab Page แต่ละตัว
22. การสรุปข้อมูล เพื่อสร้างกราฟ โดยใช้ CrossTab Query
- สร้าง CrossTab Query เพื่อสร้างกราฟ
- เลือก Control ที่ชื่อ UnBound Object Frame แล้วเลือก Microsoft Graph Chart
23. การแก้ปัญหากราฟที่ดึงข้อมูลมาให้ไม่ครบ ขาดไป 1 แถว. - การแก้ปัญหากราฟที่ดึงข้อมูลมาให้ไม่ครบ ขาดไป 1 แถว
24. การตกแต่งกราฟ และการเลือกประเภทของกราฟ
- การตกแต่งกราฟ
- การเลือกประเภทของกราฟ
- การกำหนดคุณสมบัติบน ToolBar ของ Chart
- การเข้าสู่โหมดการแก้ไขของกราฟ
25. การสร้าง Form SwitchBoard เพื่อให้สามารถ Click ไปฟอร์มต่าง ๆ ได้
- การสร้าง SwitchBoard Form เพื่อให้สามารถ Click ไปที่ Form อื่น ๆ ได้
- การแก้ไข SwitchBoard
- การสร้างรายการต่าง ๆ ใน SwitchBoard
26. การกำหนด Startup เพื่อให้เปิดฟอร์มที่ต้องการ เมื่อมีการเปิดฐานข้อมูล Access
- การกำหนดรูปแบบ Startup ว่าจะให้เริ่มจาก Form ใด
- การกำหนด Application Title และอื่น ๆ ใน Option ของ Startup